• EN
    • EN
  • เกี่ยวกับ ธปท.
    • บทบาทหน้าที่และประวัติ
    • การกำกับดูแลกิจการที่ดี
    • ธปท. กับบทบาทการพัฒนาอย่างยั่งยืน
    • ความร่วมมือระหว่างประเทศ
    • กฎหมาย/กฎเกณฑ์
    • ผังโครงสร้างองค์กร
    • คณะกรรมการ
    • รายงานทางการเงิน
    • รายงานประจำปี ธปท.
    • ธนบัตร
    • มูลนิธิ 50 ปี ธปท.
    • สมัครงานและทุน
    • พิพิธภัณฑ์และแหล่งเรียนรู้
    • ศคง. 1213
    • งานและกิจกรรม
  • นโยบายการเงิน
    • คณะกรรมการ กนง.
    • เป้าหมายของนโยบายการเงิน
    • กำหนดการประชุม
    • ผลการประชุม กนง.
    • เอกสารเผยแพร่ของ กนง.
    • ความรู้เรื่องนโยบายการเงิน
    • ภาวะเศรษฐกิจไทย
    • เศรษฐกิจภูมิภาค
    • งานวิจัยและสัมมนาวิชาการ
  • สถาบันการเงิน
    • คณะกรรมการ กนส.
    • โครงสร้างระบบ สง. ไทย
    • บทบาทของ ธปท. ด้าน สง.
    • การกำหนดนโยบาย สง.
    • การกำกับตรวจสอบ สง.
    • ความร่วมมือกับผู้กำกับดูแลอื่น
    • ธุรกิจการเงินที่ ธปท. กำกับดูแล​​​​
    • มุมสถาบันการเงิน
    • การธนาคารเพื่อความยั่งยืน
    • โครงการพัฒนา Digital Factoring Ecosystem
    • โครงการ API Standard
  • ตลาดการเงิน
    • การดำเนินนโยบายการเงิน
    • การบริหารเงินสำรอง
    • การพัฒนาตลาดการเงิน
    • ตลาดเงินตราต่างประเทศ
    • หลักเกณฑ์การแลกเปลี่ยนเงิน
    • การลงทุนโดยตรง ตปท.
    • อัตราดอกเบี้ยอ้างอิงและแนวทางรองรับการยุติการใช้ LIBOR
    • โครงการลงทะเบียนแสดงตัวตนของผู้ลงทุนตราสารหนี้ในประเทศไทย (BIR)
  • ระบบการชำระเงิน
    • คณะกรรมการ กรช.
    • นโยบายการชำระเงิน
    • การกำกับดูแลระบบการชำระเงิน
    • การกำกับตาม พ.ร.บ. ระบบการชำระเงิน 2560
    • บริการระบบการชำระเงิน
    • แนวนโยบาย/แนวปฏิบัติ /มาตรฐานระบบการชำระเงิน
    • ระเบียบ/ประกาศระบบการชำระเงิน
    • เทคโนโลยีทางการเงิน
    • การชำระเงินกับต่างประเทศ
  • วิจัยและสัมมนา
    • งานวิจัย
    • งานสัมมนา
    • สถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย ​อึ๊งภากรณ์
  • สถิติ
    • สถิติตลาดการเงิน
    • สถิติเศรษฐกิจการเงิน
    • สถิติสถาบันการเงิน
    • สถิติระบบการชำระเงิน
    • สถิติเศรษฐกิจการเงินภูมิภาค
    • เครื่องชี้ภาวะเศรษฐกิจสำคัญ
    • แผนภูมิข้อมูลเศรษฐกิจสำคัญ
    • การรับส่งข้อมูลกับ ธปท.
    • บทความและเอกสารเผยแพร่ด้านสถิติ
    • คู่มือประชาชนด้านสถิติ
    • บริการข้อมูล BOT API

  • หน้าหลัก
  • > เกี่ยวกับ ธปท.
  • > ความร่วมมือระหว่างประเทศ
เกี่ยวกับ ธปท.
เกี่ยวกับ ธปท.
  • บทบาทหน้าที่และประวัติ
    • บทบาทหน้าที่ ธปท.
    • พันธกิจ/วิสัยทัศน์/ค่านิยมร่วม
    • แผนยุทธศาสตร์ 3 ปี ธปท. พ.ศ. 2563-2565
    • ​​ประวัติธนาคารแห่งประเทศไทย
    • ผู้ว่าการจากอดีตถึงปัจจุบัน
  • การกำกับดูแลกิจการที่ดี
    • ​การกำกับดูแลกิจการที่ดีของ ธปท.
    • ข้อบังคับที่เกี่ยวกับการกำกับดูแลกิจการที่ดี
    • การตรวจสอบการมีส่วนได้เสียกับ ธปท.
    • การตรวจสอบกิจการภายใน
    • การเปิดเผยการใช้จ่ายเงินหรือทรัพย์สินของหน่วยงานของรัฐให้สื่อมวลชน
  • ความร่วมมือระหว่างประเทศ
    • สมาชิกองค์กรระหว่างประเทศ ​
    • กรอบความร่วมมือระหว่างประเทศ
    • เศรษฐกิจการเงินในกลุ่มประเทศ CLMV
    • ความร่วมมือทางวิชาการของ ธปท.
    • บทความที่น่าสนใจ
  • กฎหมาย/กฎเกณฑ์
  • ผังโครงสร้างองค์กร
    • ทำเนียบผู้บริหาร
    • ผู้บริหารระดับสูง
    • คณะกรรมการบริหารจัดการ (คบจ.)
  • คณะกรรมการ
    • การตรวจสอบการมีส่วนได้เสียกับ ธปท.
    • BOTBoard
  • รายงานทางการเงิน
    • รายงานฐานะการเงินประจำสัปดาห์
  • รายงานประจำปี ธปท.
  • ธนบัตร
  • สมัครงานและทุน
  • พิพิธภัณฑ์และแหล่งเรียนรู้
  • ศคง. 1213
  • งานและกิจกรรม

​รูปแบบการให้ความช่วยเหลือทางวิชาการ
แก่ประเทศเพื่อนบ้าน
ความร่วมมือกับ
IMF - CDOT
​CLMVT Bankers’ Leadership Program

 รูปแบบการให้ความช่วยเหลือทางวิชาการแก่ประเทศเพื่อนบ้าน

ธปท. สนับสนุนและให้ความช่วยเหลือทางวิชาการแก่บุคลากรในภาคการเงินของกลุ่มประเทศกัมพูชา สปป. ลาว เมียนมา และเวียดนาม ในรูปแบบทวิภาคีผ่านการแลกเปลี่ยนประสบการณ์และความรู้ ทั้งรูปแบบของการศึกษาดูงาน การจัดหลักสูตรฝึกอบรม การสนับสนุนวิทยากร และการสนับสนุนทุนการศึกษาในระดับปริญญาตรี โท และเอก

รวมทั้งการฝึกปฏิบัติงานที่ธนาคารแห่งประเทศไทย โดยหัวข้อการให้ความช่วยเหลือทางวิชาการครอบคลุมด้านนโยบายเศรษฐกิจมหภาค นโยบายการเงิน การพัฒนาตลาดการเงิน การบริหารเงินทุนเคลื่อนย้ายและการกำกับการแลกเปลี่ยนเงิน การกำกับดูแลสถาบันการเงิน การพัฒนาระบบชำระเงิน เทคโนโลยีทางการเงิน รวมถึงการดำเนินงานของธนาคารกลาง เช่น การบริหารความเสี่ยงของธนาคารกลางและการบริหารจัดการธนบัตรเป็นต้น

​

 ความร่วมมือกับ IMF - CDOT

         สำนักงานให้ความช่วยเหลือทางวิชาการของกองทุนการเงินระหว่างประเทศในประเทศไทย (IMF Capacity Development Office in Thailand: CDOT)  จัดตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2555 โดยมีพันธกิจในการให้ความช่วยเหลือทางวิชาการแก่ประเทศเพื่อนบ้านของไทย ได้แก่ กัมพูชา ลาว เมียนมา และเวียดนาม ตลอดจนประเทศอื่น ๆ ในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก เพื่อสนับสนุนการเปลี่ยนผ่านทางเศรษฐกิจและการเติบโตทางเศรษฐกิจที่ยั่งยืนของภูมิภาค ​

         สำนักงานฯ มุ่งเน้นการให้ความช่วยเหลือด้านเทคนิคและพัฒนาบุคลากร ในด้านต่าง ๆ ได้แก่ Public Financial Management, Monetary and Foreign Exchange Operations, Government Finance Statistics, External Sector Statistics และ Macroeconomic Management ภายใต้การสนับสนุนจากรัฐบาลญี่ปุ่น และธนาคารแห่งประเทศไทย โดยมีเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานจาก IMF ได้แก่ หัวหน้าสำนักงาน (Coordinator) และผู้เชี่ยวชาญประจำสำนักงาน (Resident advisors) รวมถึงผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านที่จะมาประจำการชั่วคราวตามความจำเป็น (Short-term experts) นอกจากนี้ ยังมีพนักงานของธนาคารแห่งประเทศไทยหมุนเวียนกันไปช่วยปฏิบัติงาน (Secondment) อีกด้วย
          นอกจากการสนับสนุนด้านที่ตั้งของสำนักงานแล้ว ธนาคารแห่งประเทศไทยยังมีการสนับสนุนการดำเนินงานของสำนักงานในรูปแบบอื่นๆ ได้แก่ ความร่วมมือทางวิชาการแก่ประเทศต่างๆ ผ่านการจัดหลักสูตร รวมทั้งส่งเสริมให้พนักงานมีส่วนร่วมในการให้ความรู้และแบ่งปันประสบการณ์ที่เป็นประโยชน์ต่อการดำเนินงานของธนาคารกลาง

         อนึ่ง เมื่อแรกจัดตั้ง สำนักงานฯ ได้ใช้ชื่อว่า IMF's Technical Assistance Office for the Lao P.D.R. and the Republic of the Union of Myanmar (TAOLAM) แต่ต่อมาได้มีการเปลี่ยนชื่อเพื่อให้สอดคล้องกับพันธกิจ เป็น IMF Capacity Development Office in Thailand (CDOT) เมื่อเดือนกันยายน 2018

 หลักสูตรสำหรับผู้บริหารระดับสูง CLMVT Bankers’ Leadership Program

ธนาคารแห่งประเทศไทยร่วมกับสมาคมธนาคารไทย (Thai Bankers’ Association: TBA) จัดหลักสูตร CLMVT Bankers' Leadership Program เป็นประจำทุกปี ตั้งแต่ปี 2560 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมผู้บริหารระดับสูงในภาคการเงินของกลุ่มประเทศ CLMVT (กัมพูชา ลาว เมียนมา เวียดนามและไทย) ที่มีบทบาทในการผลักดันนโยบายที่สำคัญ ให้มีความรู้ความเข้าใจในระบบเศรษฐกิจการเงินอย่างลึกซึ้ง ซึ่งจะช่วยให้การวางแผนพัฒนาระบบการเงินในประเทศของตนเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ​เอื้อต่อการเติบโตอย่างยั่งยืนของภูมิภาค รวมถึงมีโอกาสเรียนรู้และแลกเปลี่ยนประสบการณ์ระหว่างกัน เพื่อส่งเสริมการสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างผู้บริหารระดับสูงในภาคการเงินและหน่วยงานเศรษฐกิจการเงินของไทยกับกลุ่มประเทศ CLMV ซึ่งจะเอื้อต่อการดำเนินนโยบายในการสร้างความเชื่อมโยงทางการเงิน (financial connectivity) ระหว่างกัน อีกทั้งจะเป็นประโยชน์ในการสนับสนุนความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างกันในด้านอื่น ๆ อีกด้วย


  CLMVT-2019.png

   ครั้งที่ 3 ปี 2562

​      


CLMVT-2017.jpg

ครั้งที่ 1 ปี 2560

​      

  CLMVT-2018.png

                          ครั้งที่ 2 ปี 2561

                                                                                                                       

                                                                                                                         ข้อมูลเพิ่มเติม

                                                                           Facebook: CLMVT Bankers' Leadership Program

                                                                                     Website: http://www.clmvtbankers.com


Share
Tweet
Share
Tweet
เกี่ยวกับ ธปท.
  • บทบาทหน้าที่และประวัติ
  • การกำกับดูแลกิจการที่ดี
  • ธปท. กับบทบาทการพัฒนาอย่างยั่งยืน
  • ความร่วมมือระหว่างประเทศ
  • กฎหมาย/กฎเกณฑ์
  • ผังโครงสร้างองค์กร
  • คณะกรรมการ
  • รายงานทางการเงิน
  • รายงานประจำปี ธปท.
  • ธนบัตร
  • มูลนิธิ 50 ปี ธปท.
  • สมัครงานและทุน
  • พิพิธภัณฑ์และแหล่งเรียนรู้
  • ศคง. 1213
  • งานและกิจกรรม
นโยบายการเงิน
  • คณะกรรมการ กนง.
  • เป้าหมายของนโยบายการเงิน
  • กำหนดการประชุม
  • ผลการประชุม กนง.
  • เอกสารเผยแพร่ของ กนง.
  • ความรู้เรื่องนโยบายการเงิน
  • ภาวะเศรษฐกิจไทย
  • เศรษฐกิจภูมิภาค
  • งานวิจัยและสัมมนาวิชาการ
สถาบันการเงิน
  • คณะกรรมการ กนส.
  • โครงสร้างระบบ สง. ไทย
  • บทบาทของ ธปท. ด้าน สง.
  • การกำหนดนโยบาย สง.
  • การกำกับตรวจสอบ สง.
  • ความร่วมมือกับผู้กำกับดูแลอื่น
  • ธุรกิจการเงินที่ ธปท. กำกับดูแล​​​​
  • มุมสถาบันการเงิน
  • การธนาคารเพื่อความยั่งยืน
  • โครงการพัฒนา Digital Factoring Ecosystem
  • โครงการ API Standard
ตลาดการเงิน
  • การดำเนินนโยบายการเงิน
  • การบริหารเงินสำรอง
  • การพัฒนาตลาดการเงิน
  • ตลาดเงินตราต่างประเทศ
  • หลักเกณฑ์การแลกเปลี่ยนเงิน
  • การลงทุนโดยตรง ตปท.
  • อัตราดอกเบี้ยอ้างอิงและแนวทางรองรับการยุติการใช้ LIBOR
  • โครงการลงทะเบียนแสดงตัวตนของผู้ลงทุนตราสารหนี้ในประเทศไทย (BIR)
ระบบการชำระเงิน
  • คณะกรรมการ กรช.
  • นโยบายการชำระเงิน
  • การกำกับดูแลระบบการชำระเงิน
  • การกำกับตาม พ.ร.บ. ระบบการชำระเงิน 2560
  • บริการระบบการชำระเงิน
  • แนวนโยบาย/แนวปฏิบัติ /มาตรฐานระบบการชำระเงิน
  • ระเบียบ/ประกาศระบบการชำระเงิน
  • เทคโนโลยีทางการเงิน
  • การชำระเงินกับต่างประเทศ
สถิติ
  • สถิติตลาดการเงิน
  • สถิติเศรษฐกิจการเงิน
  • สถิติสถาบันการเงิน
  • สถิติระบบการชำระเงิน
  • สถิติเศรษฐกิจการเงินภูมิภาค
  • เครื่องชี้ภาวะเศรษฐกิจสำคัญ
  • แผนภูมิข้อมูลเศรษฐกิจสำคัญ
  • การรับส่งข้อมูลกับ ธปท.
  • บทความและเอกสารเผยแพร่ด้านสถิติ
  • คู่มือประชาชนด้านสถิติ
  • บริการข้อมูล BOT API
ตารางเวลาเผยแพร่
เงื่อนไขการให้บริการ
นโยบายคุ้มครอง
ข้อมูลส่วนบุคคล
เชื่อมโยง
คำถามถามบ่อย
ติดต่อ ธปท.

©2015 Bank of Thailand. All rights reserved.   ( เว็บไซต์นี้รับชมได้ดี ด้วยเว็บเบราว์เซอร์ Chrome, Safari, Firefox หรือ IE 10 ขึ้นไป )
สอบถาม/ข้อเสนอแนะ/ร้องเรียน
ลงทะเบียนรับข้อมูล/ข่าวสาร

ผู้จัดการบริการ
ลลิตา โทร 0-2283-6408
ปภาสินี โทร 0-2283-6468

©2015 Bank of Thailand. All rights reserved.