• EN
    • EN
  • เกี่ยวกับ ธปท.
    • บทบาทหน้าที่และประวัติ
    • การกำกับดูแลกิจการที่ดี
    • ธปท. กับบทบาทการพัฒนาอย่างยั่งยืน
    • ความร่วมมือระหว่างประเทศ
    • กฎหมาย/กฎเกณฑ์
    • ผังโครงสร้างองค์กร
    • คณะกรรมการ
    • รายงานทางการเงิน
    • รายงานประจำปี ธปท.
    • ธนบัตร
    • มูลนิธิ 50 ปี ธปท.
    • สมัครงานและทุน
    • พิพิธภัณฑ์และแหล่งเรียนรู้
    • ศคง. 1213
    • งานและกิจกรรม
  • นโยบายการเงิน
    • คณะกรรมการ กนง.
    • เป้าหมายของนโยบายการเงิน
    • กำหนดการประชุม
    • ผลการประชุม กนง.
    • เอกสารเผยแพร่ของ กนง.
    • ความรู้เรื่องนโยบายการเงิน
    • ภาวะเศรษฐกิจไทย
    • เศรษฐกิจภูมิภาค
    • งานวิจัยและสัมมนาวิชาการ
  • สถาบันการเงิน
    • คณะกรรมการ กนส.
    • โครงสร้างระบบ สง. ไทย
    • บทบาทของ ธปท. ด้าน สง.
    • การกำหนดนโยบาย สง.
    • การกำกับตรวจสอบ สง.
    • ความร่วมมือกับผู้กำกับดูแลอื่น
    • ธุรกิจการเงินที่ ธปท. กำกับดูแล​​​​
    • มุมสถาบันการเงิน
    • การธนาคารเพื่อความยั่งยืน
    • โครงการพัฒนา Digital Factoring Ecosystem
    • โครงการ API Standard
  • ตลาดการเงิน
    • การดำเนินนโยบายการเงิน
    • การบริหารเงินสำรอง
    • การพัฒนาตลาดการเงิน
    • ตลาดเงินตราต่างประเทศ
    • หลักเกณฑ์การแลกเปลี่ยนเงิน
    • การลงทุนโดยตรง ตปท.
    • อัตราดอกเบี้ยอ้างอิงและแนวทางรองรับการยุติการใช้ LIBOR
    • โครงการลงทะเบียนแสดงตัวตนของผู้ลงทุนตราสารหนี้ในประเทศไทย (BIR)
  • ระบบการชำระเงิน
    • คณะกรรมการ กรช.
    • นโยบายการชำระเงิน
    • การกำกับดูแลระบบการชำระเงิน
    • การกำกับตาม พ.ร.บ. ระบบการชำระเงิน 2560
    • บริการระบบการชำระเงิน
    • แนวนโยบาย/แนวปฏิบัติ /มาตรฐานระบบการชำระเงิน
    • ระเบียบ/ประกาศระบบการชำระเงิน
    • เทคโนโลยีทางการเงิน
    • การชำระเงินกับต่างประเทศ
  • วิจัยและสัมมนา
    • งานวิจัย
    • งานสัมมนา
    • สถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย ​อึ๊งภากรณ์
  • สถิติ
    • สถิติตลาดการเงิน
    • สถิติเศรษฐกิจการเงิน
    • สถิติสถาบันการเงิน
    • สถิติระบบการชำระเงิน
    • สถิติเศรษฐกิจการเงินภูมิภาค
    • เครื่องชี้ภาวะเศรษฐกิจสำคัญ
    • แผนภูมิข้อมูลเศรษฐกิจสำคัญ
    • การรับส่งข้อมูลกับ ธปท.
    • บทความและเอกสารเผยแพร่ด้านสถิติ
    • คู่มือประชาชนด้านสถิติ
    • บริการข้อมูล BOT API

  • หน้าหลัก
  • > เกี่ยวกับ ธปท.
  • > บทบาทหน้าที่และประวัติ
เกี่ยวกับ ธปท.
เกี่ยวกับ ธปท.
  • บทบาทหน้าที่และประวัติ
    • บทบาทหน้าที่ ธปท.
    • พันธกิจ/วิสัยทัศน์/ค่านิยมร่วม
    • แผนยุทธศาสตร์ 3 ปี ธปท. พ.ศ. 2563-2565
    • ​​ประวัติธนาคารแห่งประเทศไทย
    • ผู้ว่าการจากอดีตถึงปัจจุบัน
  • การกำกับดูแลกิจการที่ดี
    • ​การกำกับดูแลกิจการที่ดีของ ธปท.
    • ข้อบังคับที่เกี่ยวกับการกำกับดูแลกิจการที่ดี
    • การตรวจสอบการมีส่วนได้เสียกับ ธปท.
    • การตรวจสอบกิจการภายใน
    • การเปิดเผยการใช้จ่ายเงินหรือทรัพย์สินของหน่วยงานของรัฐให้สื่อมวลชน
  • ความร่วมมือระหว่างประเทศ
    • สมาชิกองค์กรระหว่างประเทศ ​
    • กรอบความร่วมมือระหว่างประเทศ
    • เศรษฐกิจการเงินในกลุ่มประเทศ CLMV
    • ความร่วมมือทางวิชาการของ ธปท.
    • บทความที่น่าสนใจ
  • กฎหมาย/กฎเกณฑ์
  • ผังโครงสร้างองค์กร
    • ทำเนียบผู้บริหาร
    • ผู้บริหารระดับสูง
    • คณะกรรมการบริหารจัดการ (คบจ.)
  • คณะกรรมการ
    • การตรวจสอบการมีส่วนได้เสียกับ ธปท.
    • BOTBoard
  • รายงานทางการเงิน
    • รายงานฐานะการเงินประจำสัปดาห์
  • รายงานประจำปี ธปท.
  • ธนบัตร
  • สมัครงานและทุน
  • พิพิธภัณฑ์และแหล่งเรียนรู้
  • ศคง. 1213
  • งานและกิจกรรม
​งานตรวจสอบกิจการภายใน

1. วัตถุประสงค์หลัก

วัตถุประสงค์หลักของงานตรวจสอบกิจการภายใน คือ สนับสนุนการดำเนินงานของธนาคารให้ บรรลุวัตถุประสงค์และแผนกลยุทธ์ที่กำหนด ด้วยการให้ความมั่นใจและให้บริการในลักษณะที่ปรึกษา อย่างเป็นอิสระและเที่ยงธรรม ในแนวทางที่มุ่งการเพิ่มคุณค่าและการปรับปรุงการปฏิบัติงานให้มี ประสิทธิภาพ โดยนำข้อกำหนดและวิธีการที่เป็นระบบมาใช้ในการประเมิน และปรับปรุงประสิทธิผล ของกระบวนการบริหารความเสี่ยง การควบคุมภายใน และการกำกับดูแลกิจการที่ดี

2. ความเป็นอิสระ

2.1. ให้ผู้ตรวจสอบภายในปฏิบัติงานให้สอดคล้องกับมาตรฐานสากลว่าด้วยการปฏิบัติงานวิชาชีพ การตรวจสอบภายใน
2.2 งานด้านการตรวจสอบกิจการภายในให้ขึ้นตรงต่อ กตส. สำหรับงานด้านบริหารจัดการทั่วไป เสนอตรงต่อผู้ว่าการ
2.3 การพิจารณาประเมินผลการปฏิบัติงานและความดีความชอบของผู้อำนวยการอาวุโส ฝ่ายตรวจสอบกิจการภายใน ให้ผู้ช่วยผู้ว่าการ สายตรวจสอบกิจการภายใน เป็นผู้ประเมินผลการปฏิบัติงาน และเสนอคณะกรรมการบริหารบุคคลของธนาคารเพื่อพิจารณาตามกระบวนการต่อไป

3. ขอบเขตการปฏิบัติงาน 

   1) ดำเนินการตรวจสอบตามแผนงาน โดยการสอบทานและประเมินกระบวนการบริหารความเสี่ยง ระบบการควบคุมภายใน และการกำกับดูแลกิจการที่ดีของส่วนงานรับตรวจว่ามีความเหมาะสม และมีประสิทธิผล 
   2) ดำเนินการตรวจสอบและปฏิบัติงานอื่น ๆ เป็นกรณีพิเศษตามความจำเป็น หรือตามที่ได้รับมอบหมายจาก กตส. หรือ ผู้ว่าการ
   3) ให้คำปรึกษาแก่ผู้บริหารของส่วนงานรับตรวจ 

4. หน้าที่ด้านการตรวจสอบกิจการภายในของสายตรวจสอบกิจการภายใน 

   1) จัดทำแผนงานตรวจสอบของหน่วยงานตรวจสอบภายในเสนอผู้ว่าการ เพื่อพิจารณาให้ความเห็นและข้อแนะนำก่อนเสนอ กตส. อนุมัติ 
   2) ปฏิบัติงานตรวจสอบหรืองานอื่นตามที่ได้รับมอบหมายจาก กตส. หรือผู้ว่าการ และรายงานผลการตรวจสอบต่อ กตส. และผู้ว่าการ 
   3) ให้คำปรึกษาแก่ส่วนงานรับตรวจ
   4) จัดทำงบประมาณประจำปีด้านการตรวจสอบกิจการภายใน เสนอ กตส. เพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบ 
   5) ฝึกอบรมและพัฒนาบุคลากรของสายตรวจสอบกิจการภายใน ให้มีความรู้ ทักษะ และประสบการณ์อย่างเพียงพอสำหรับการปฏิบัติงานตามวิชาชีพตรวจสอบภายใน รวมทั้งสนับสนุนและส่งเสริมให้มีวุฒิบัตรทางวิชาชีพ (Professional Certification) ตามมาตรฐานสากลการปฏิบัติงานวิชาชีพการตรวจสอบภายใน 
   6) ประสานงานกับส่วนงานที่รับผิดชอบด้านกลยุทธ์ การบริหารความเสี่ยง และสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน
   7) ปฏิบัติตามมาตรฐานสากลการปฏิบัติงานวิชาชีพการตรวจสอบภายใน

5. ขอบเขตอำนาจ

   1) ให้สายตรวจสอบกิจการภายในได้รับแผนกลยุทธ์และแผนการบริหารความเสี่ยงของธนาคาร และให้ผู้ตรวจสอบ ภายในมีอำนาจดำเนินการ ดังนี้ 
       (1) มีสิทธิเข้าถึงการปฏิบัติงาน สินทรัพย์ ข้อมูล และเอกสารหลักฐานของส่วนงานรับตรวจ เท่าที่จำเป็นต่อการปฏิบัติงาน
       (2) จัดสรรทรัพยากร กำหนดความถี่ เนื้อหา ขอบเขตการปฏิบัติงาน และพิจารณาใช้เทคนิคต่าง ๆ ที่จำเป็น เพื่อให้การปฏิบัติงานตรวจสอบภายในบรรลุวัตถุประสงค์
   2) ให้ส่วนงานต่าง ๆ ของธนาคาร มีหน้าที่ให้ความร่วมมือ ดังนี้ 
       (1) อำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงานของผู้ตรวจสอบภายในและสนับสนุนด้านบุคลากรที่เป็นผู้เชี่ยวชาญ ในสาขาที่เกี่ยวข้อง
       (2) ชี้แจง ให้ข้อมูล และส่งมอบเอกสารหรือหลักฐานใด ๆ ในเรื่องที่ตรวจสอบที่จำเป็นและถูกต้องแก่ผู้ตรวจสอบ ภายในโดยมิชักช้า 
       (3) ยินยอมให้ผู้ตรวจสอบภายในเข้าตรวจสอบกระบวนการทำงานและการบริหารงานทั้งหมด
       (4) ปฏิบัติตามข้อเสนอแนะของผู้ตรวจสอบภายใน ตามรายงานการตรวจสอบในเวลาอันควร และรายงานการดำเนินการแก้ไขให้สายตรวจสอบกิจการภายในรับทราบ
       (5) กรณีที่มีการปฏิบัติโดยมิชอบ หรือมีเหตุอันควรสงสัยว่าเป็นการปฏิบัติโดยมิชอบ หรือมีการเปลี่ยนแปลงระบบ วิธีการควบคุมที่สำคัญ ให้แจ้งสายตรวจสอบกิจการภายในทราบ
   3) ให้การดำเนินการต่อไปนี้ไม่อยู่ในขอบเขตอำนาจหน้าที่ของสายตรวจสอบกิจการภายใน
       (1) การดำเนินการใด ๆ อันเป็นการปฏิบัติงานในหน้าที่งานประจำของส่วนงานอื่นในธนาคาร
       (2) การจัดทำหรืออนุมัติรายการทางการบัญชี และรายงานทางการเงิน
       (3) การสั่งการกับพนักงานในสังกัดส่วนงานอื่น เว้นแต่พนักงานนั้นได้รับมอบหมายอย่างเป็นทางการให้ร่วมในทีมผู้ตรวจสอบภายในหรือได้รับมอบหมายให้ช่วยงานผู้ตรวจสอบภายในหรือทีมผู้ตรวจสอบภายใน

6. ความรับผิดชอบต่อหน้าที่

ผู้ช่วยผู้ว่าการ สายตรวจสอบกิจการภายใน มีหน้าที่รับผิดชอบต่อหน้าที่ด้านการตรวจสอบกิจการภายใน ดังนี้
   1) หน้าที่รับผิดชอบต่อ กตส. และผู้ว่าการ เสนอรายงานผลการตรวจสอบ พร้อมทั้งข้อเสนอแนะในการแก้ไขปรับปรุงต่อ กตส. และผู้ว่าการ 
   2) หน้าที่รับผิดชอบต่อ กตส. และคณะกรรมการ ธปท. ดังนี้
       (1) เสนอข้อบังคับฯ ว่าด้วยการตรวจสอบกิจการภายใน ต่อ กตส. เพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบก่อนเสนอคณะกรรมการ ธปท. เพื่ออนุมัติ และให้มีการทบทวนข้อบังคับ ดังกล่าวอย่างน้อยทุก 3 ปี หรือตามความเหมาะสม 
       (2) ยืนยันความเป็นอิสระในการปฏิบัติหน้าที่ต่อ กตส. อย่างน้อยปีละครั้ง

 

Share
Tweet
Share
Tweet
เกี่ยวกับ ธปท.
  • บทบาทหน้าที่และประวัติ
  • การกำกับดูแลกิจการที่ดี
  • ธปท. กับบทบาทการพัฒนาอย่างยั่งยืน
  • ความร่วมมือระหว่างประเทศ
  • กฎหมาย/กฎเกณฑ์
  • ผังโครงสร้างองค์กร
  • คณะกรรมการ
  • รายงานทางการเงิน
  • รายงานประจำปี ธปท.
  • ธนบัตร
  • มูลนิธิ 50 ปี ธปท.
  • สมัครงานและทุน
  • พิพิธภัณฑ์และแหล่งเรียนรู้
  • ศคง. 1213
  • งานและกิจกรรม
นโยบายการเงิน
  • คณะกรรมการ กนง.
  • เป้าหมายของนโยบายการเงิน
  • กำหนดการประชุม
  • ผลการประชุม กนง.
  • เอกสารเผยแพร่ของ กนง.
  • ความรู้เรื่องนโยบายการเงิน
  • ภาวะเศรษฐกิจไทย
  • เศรษฐกิจภูมิภาค
  • งานวิจัยและสัมมนาวิชาการ
สถาบันการเงิน
  • คณะกรรมการ กนส.
  • โครงสร้างระบบ สง. ไทย
  • บทบาทของ ธปท. ด้าน สง.
  • การกำหนดนโยบาย สง.
  • การกำกับตรวจสอบ สง.
  • ความร่วมมือกับผู้กำกับดูแลอื่น
  • ธุรกิจการเงินที่ ธปท. กำกับดูแล​​​​
  • มุมสถาบันการเงิน
  • การธนาคารเพื่อความยั่งยืน
  • โครงการพัฒนา Digital Factoring Ecosystem
  • โครงการ API Standard
ตลาดการเงิน
  • การดำเนินนโยบายการเงิน
  • การบริหารเงินสำรอง
  • การพัฒนาตลาดการเงิน
  • ตลาดเงินตราต่างประเทศ
  • หลักเกณฑ์การแลกเปลี่ยนเงิน
  • การลงทุนโดยตรง ตปท.
  • อัตราดอกเบี้ยอ้างอิงและแนวทางรองรับการยุติการใช้ LIBOR
  • โครงการลงทะเบียนแสดงตัวตนของผู้ลงทุนตราสารหนี้ในประเทศไทย (BIR)
ระบบการชำระเงิน
  • คณะกรรมการ กรช.
  • นโยบายการชำระเงิน
  • การกำกับดูแลระบบการชำระเงิน
  • การกำกับตาม พ.ร.บ. ระบบการชำระเงิน 2560
  • บริการระบบการชำระเงิน
  • แนวนโยบาย/แนวปฏิบัติ /มาตรฐานระบบการชำระเงิน
  • ระเบียบ/ประกาศระบบการชำระเงิน
  • เทคโนโลยีทางการเงิน
  • การชำระเงินกับต่างประเทศ
สถิติ
  • สถิติตลาดการเงิน
  • สถิติเศรษฐกิจการเงิน
  • สถิติสถาบันการเงิน
  • สถิติระบบการชำระเงิน
  • สถิติเศรษฐกิจการเงินภูมิภาค
  • เครื่องชี้ภาวะเศรษฐกิจสำคัญ
  • แผนภูมิข้อมูลเศรษฐกิจสำคัญ
  • การรับส่งข้อมูลกับ ธปท.
  • บทความและเอกสารเผยแพร่ด้านสถิติ
  • คู่มือประชาชนด้านสถิติ
  • บริการข้อมูล BOT API
ตารางเวลาเผยแพร่
เงื่อนไขการให้บริการ
นโยบายคุ้มครอง
ข้อมูลส่วนบุคคล
เชื่อมโยง
คำถามถามบ่อย
ติดต่อ ธปท.

©2015 Bank of Thailand. All rights reserved.   ( เว็บไซต์นี้รับชมได้ดี ด้วยเว็บเบราว์เซอร์ Chrome, Safari, Firefox หรือ IE 10 ขึ้นไป )
สอบถาม/ข้อเสนอแนะ/ร้องเรียน
ลงทะเบียนรับข้อมูล/ข่าวสาร

ผู้จัดการบริการ
สนม โทร 0-2283-5738
ภรัณยู โทร 0-2283-6962

©2015 Bank of Thailand. All rights reserved.