• EN
    • EN
  • เกี่ยวกับ ธปท.
    • บทบาทหน้าที่และประวัติ
    • การกำกับดูแลกิจการที่ดี
    • ธปท. กับบทบาทการพัฒนาอย่างยั่งยืน
    • ความร่วมมือระหว่างประเทศ
    • กฎหมาย/กฎเกณฑ์
    • ผังโครงสร้างองค์กร
    • คณะกรรมการ
    • รายงานทางการเงิน
    • รายงานประจำปี ธปท.
    • ธนบัตร
    • มูลนิธิ 50 ปี ธปท.
    • สมัครงานและทุน
    • พิพิธภัณฑ์และแหล่งเรียนรู้
    • ศคง. 1213
    • งานและกิจกรรม
  • นโยบายการเงิน
    • คณะกรรมการ กนง.
    • เป้าหมายของนโยบายการเงิน
    • กำหนดการประชุม
    • ผลการประชุม กนง.
    • เอกสารเผยแพร่ของ กนง.
    • ความรู้เรื่องนโยบายการเงิน
    • ภาวะเศรษฐกิจไทย
    • เศรษฐกิจภูมิภาค
    • งานวิจัยและสัมมนาวิชาการ
  • สถาบันการเงิน
    • คณะกรรมการ กนส.
    • โครงสร้างระบบ สง. ไทย
    • บทบาทของ ธปท. ด้าน สง.
    • การกำหนดนโยบาย สง.
    • การกำกับตรวจสอบ สง.
    • ความร่วมมือกับผู้กำกับดูแลอื่น
    • ธุรกิจการเงินที่ ธปท. กำกับดูแล​​​​
    • มุมสถาบันการเงิน
    • การธนาคารเพื่อความยั่งยืน
    • โครงการพัฒนา Digital Factoring Ecosystem
    • โครงการ API Standard
  • ตลาดการเงิน
    • การดำเนินนโยบายการเงิน
    • การบริหารเงินสำรอง
    • การพัฒนาตลาดการเงิน
    • ตลาดเงินตราต่างประเทศ
    • หลักเกณฑ์การแลกเปลี่ยนเงิน
    • การลงทุนโดยตรง ตปท.
    • อัตราดอกเบี้ยอ้างอิงและแนวทางรองรับการยุติการใช้ LIBOR
    • โครงการลงทะเบียนแสดงตัวตนของผู้ลงทุนตราสารหนี้ในประเทศไทย (BIR)
  • ระบบการชำระเงิน
    • คณะกรรมการ กรช.
    • นโยบายการชำระเงิน
    • การกำกับดูแลระบบการชำระเงิน
    • การกำกับตาม พ.ร.บ. ระบบการชำระเงิน 2560
    • บริการระบบการชำระเงิน
    • แนวนโยบาย/แนวปฏิบัติ /มาตรฐานระบบการชำระเงิน
    • ระเบียบ/ประกาศระบบการชำระเงิน
    • เทคโนโลยีทางการเงิน
    • การชำระเงินกับต่างประเทศ
  • วิจัยและสัมมนา
    • งานวิจัย
    • งานสัมมนา
    • สถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย ​อึ๊งภากรณ์
  • สถิติ
    • สถิติตลาดการเงิน
    • สถิติเศรษฐกิจการเงิน
    • สถิติสถาบันการเงิน
    • สถิติระบบการชำระเงิน
    • สถิติเศรษฐกิจการเงินภูมิภาค
    • เครื่องชี้ภาวะเศรษฐกิจสำคัญ
    • แผนภูมิข้อมูลเศรษฐกิจสำคัญ
    • การรับส่งข้อมูลกับ ธปท.
    • บทความและเอกสารเผยแพร่ด้านสถิติ
    • คู่มือประชาชนด้านสถิติ
    • บริการข้อมูล BOT API

  • หน้าหลัก
  • > เกี่ยวกับ ธปท.
  • > บทบาทหน้าที่และประวัติ
เกี่ยวกับ ธปท.
เกี่ยวกับ ธปท.
  • บทบาทหน้าที่และประวัติ
    • บทบาทหน้าที่ ธปท.
    • พันธกิจ/วิสัยทัศน์/ค่านิยมร่วม
    • แผนยุทธศาสตร์ 3 ปี ธปท. พ.ศ. 2563-2565
    • ​​ประวัติธนาคารแห่งประเทศไทย
    • ผู้ว่าการจากอดีตถึงปัจจุบัน
  • การกำกับดูแลกิจการที่ดี
    • ​การกำกับดูแลกิจการที่ดีของ ธปท.
    • ข้อบังคับที่เกี่ยวกับการกำกับดูแลกิจการที่ดี
    • การตรวจสอบการมีส่วนได้เสียกับ ธปท.
    • การตรวจสอบกิจการภายใน
    • การเปิดเผยการใช้จ่ายเงินหรือทรัพย์สินของหน่วยงานของรัฐให้สื่อมวลชน
  • ความร่วมมือระหว่างประเทศ
    • สมาชิกองค์กรระหว่างประเทศ ​
    • กรอบความร่วมมือระหว่างประเทศ
    • เศรษฐกิจการเงินในกลุ่มประเทศ CLMV
    • ความร่วมมือทางวิชาการของ ธปท.
    • บทความที่น่าสนใจ
  • กฎหมาย/กฎเกณฑ์
  • ผังโครงสร้างองค์กร
    • ทำเนียบผู้บริหาร
    • ผู้บริหารระดับสูง
    • คณะกรรมการบริหารจัดการ (คบจ.)
  • คณะกรรมการ
    • การตรวจสอบการมีส่วนได้เสียกับ ธปท.
    • BOTBoard
  • รายงานทางการเงิน
    • รายงานฐานะการเงินประจำสัปดาห์
  • รายงานประจำปี ธปท.
  • ธนบัตร
  • สมัครงานและทุน
  • พิพิธภัณฑ์และแหล่งเรียนรู้
  • ศคง. 1213
  • งานและกิจกรรม

​ ข้อบังคับธนาคารแห่งประเทศไทย ว่าด้วยประมวลจริยธรรมและจรรยาบรรณพนักงาน
(Code of Conduct &Ethics)

 

วัตถุประสงค์

เพื่อเป็นหลักเกณฑ์ให้พนักงานและลูกจ้างยึดถือในการปฏิบัติงานและประพฤติตนในฐานะเป็นพนักงานธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) ซึ่งมีภารกิจของธนาคารกลาง จึงต้องมีความเป็นกลาง เที่ยงธรรม และจริยธรรมในการปฏิบัติงาน รวมทั้งเพื่อเป็นการรักษาภาพพจน์ที่ดี ส่งเสริมชื่อเสียงของ ธปท. ทั้งนี้ เป็นไปตามที่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550 กำหนดให้หน่วยงานของรัฐจัดทำประมวลจริยธรรมเพื่อกำหนดมาตรฐานจริยธรรมให้เจ้าหน้าที่ของรัฐยึดถือปฏิบัติ และพระราชบัญญัติธนาคารแห่งประเทศไทยกำหนดให้คณะกรรมการ ธปท. มีอำนาจกำหนดข้อบังคับ ธปท. ว่าด้วยจรรยาบรรณ ธปท. จึงได้กำหนดข้อบังคับ ธปท. ว่าด้วยประมวลจริยธรรมและจรรยาบรรณ (ข้อบังคับฯ ประมวลจริยธรรมและจรรยาบรรณ) เพื่อให้พนักงาน และลูกจ้าง ยึดถือในการปฏิบัติงาน และประพฤติตนต่อไป 

นิยาม

ประมวลจริยธรรม  (Code of Conduct)
หมายถึง สิ่งที่ต้องปฏิบัติหรือต้องละเว้นปฏิบัติ  หากฝ่าฝืน จะเป็นการผิดวินัย ต้องถูกลงโทษ 

จรรยาบรรณ (​Ethics)
หมายถึง สิ่งที่พึงปฏิบัติหรือละเว้น หากฝ่าฝืน จะถูกตักเตือน หรือให้แก้ไขให้ถูกต้อง หรือให้ได้รับการพัฒนาตามที่ผู้บังคับบัญชาเห็นสมควร

หลักการสำคัญ

สรุปหลักการสำคัญของ ข้อบังคับฯ ประมวลจริยธรรมและจรรยาบรรณ แบ่งออกเป็น 4 หมวด มีรายละเอียดดังต่อไปนี้

หมวดที่ 1 ประมวลจริยธรรม
กำหนดสิ่งที่ต้องปฏิบัติหรือต้องละเว้นปฏิบัติ  โดยพิจารณาจากแง่มุม 4 ด้าน ดังนี้
ส่วนที่ 1 ข้อประพฤติปฏิบัติต่อประเทศชาติ และ ธปท.
ส่วนที่ 2 ข้อประพฤติปฏิบัติต่อประชาชน และสังคม 
ส่วนที่ 3 ข้อประพฤติปฏิบัติต่อผู้บังคับบัญชา
ส่วนที่ 4 ข้อประพฤติปฏิบัติต่อตนเอง

หมวดที่ 2 จรรยาบรรณ
กำหนดสิ่งที่พึงปฏิบัติหรือละเว้น โดยพิจารณาจากแง่มุม 4 ด้าน ดังนี้
ส่วนที่ 1 ข้อพึงประพฤติปฏิบัติต่อประเทศชาติ และ ธปท.
ส่วนที่ 2 ข้อพึงประพฤติปฏิบัติต่อประชาชน และสังคม
ส่วนที่ 3 ข้อพึงประพฤติปฏิบัติต่อผู้ใต้บังคับบัญชา และผู้ร่วมงาน
ส่วนที่ 4 ข้อพึงประพฤติปฏิบัติต่อตนเอง

หมวดที่ 3 กลไกและระบบการบังคับใช้ประมวลจริยธรรมและจรรยาบรรณ
กำหนดการสนับสนุนให้มีการปฏิบัติตามข้อบังคับฯ ประมวลจริยธรรมและจรรยาบรรณ เช่น 
     - การคุ้มครองผู้ปฏิบัติตาม มิให้ถูกกลั่นแกล้งหรือใช้อำนาจโดยไม่เป็นธรรม 
     - การปรับปรุงข้อบังคับฯ ประมวลจริยธรรมและจรรยาบรรณให้มีความเหมาะสมกับสภาวการณ์
     - การติดตามสอดส่องการบังคับใช้และปฏิบัติตาม

หมวดที่ 4 ขั้นตอนการลงโทษ
กำหนดการดำเนินการเมื่อมีการฝ่าฝืนข้อบังคับฯ ประมวลจริยธรรมและจรรยาบรรณ และนำผลการฝ่าฝืนไปใช้ประกอบการเลื่อน แต่งตั้ง ย้าย หรือพิจารณาความดีความชอบด้วย

Share
Tweet
Share
Tweet
เกี่ยวกับ ธปท.
  • บทบาทหน้าที่และประวัติ
  • การกำกับดูแลกิจการที่ดี
  • ธปท. กับบทบาทการพัฒนาอย่างยั่งยืน
  • ความร่วมมือระหว่างประเทศ
  • กฎหมาย/กฎเกณฑ์
  • ผังโครงสร้างองค์กร
  • คณะกรรมการ
  • รายงานทางการเงิน
  • รายงานประจำปี ธปท.
  • ธนบัตร
  • มูลนิธิ 50 ปี ธปท.
  • สมัครงานและทุน
  • พิพิธภัณฑ์และแหล่งเรียนรู้
  • ศคง. 1213
  • งานและกิจกรรม
นโยบายการเงิน
  • คณะกรรมการ กนง.
  • เป้าหมายของนโยบายการเงิน
  • กำหนดการประชุม
  • ผลการประชุม กนง.
  • เอกสารเผยแพร่ของ กนง.
  • ความรู้เรื่องนโยบายการเงิน
  • ภาวะเศรษฐกิจไทย
  • เศรษฐกิจภูมิภาค
  • งานวิจัยและสัมมนาวิชาการ
สถาบันการเงิน
  • คณะกรรมการ กนส.
  • โครงสร้างระบบ สง. ไทย
  • บทบาทของ ธปท. ด้าน สง.
  • การกำหนดนโยบาย สง.
  • การกำกับตรวจสอบ สง.
  • ความร่วมมือกับผู้กำกับดูแลอื่น
  • ธุรกิจการเงินที่ ธปท. กำกับดูแล​​​​
  • มุมสถาบันการเงิน
  • การธนาคารเพื่อความยั่งยืน
  • โครงการพัฒนา Digital Factoring Ecosystem
  • โครงการ API Standard
ตลาดการเงิน
  • การดำเนินนโยบายการเงิน
  • การบริหารเงินสำรอง
  • การพัฒนาตลาดการเงิน
  • ตลาดเงินตราต่างประเทศ
  • หลักเกณฑ์การแลกเปลี่ยนเงิน
  • การลงทุนโดยตรง ตปท.
  • อัตราดอกเบี้ยอ้างอิงและแนวทางรองรับการยุติการใช้ LIBOR
  • โครงการลงทะเบียนแสดงตัวตนของผู้ลงทุนตราสารหนี้ในประเทศไทย (BIR)
ระบบการชำระเงิน
  • คณะกรรมการ กรช.
  • นโยบายการชำระเงิน
  • การกำกับดูแลระบบการชำระเงิน
  • การกำกับตาม พ.ร.บ. ระบบการชำระเงิน 2560
  • บริการระบบการชำระเงิน
  • แนวนโยบาย/แนวปฏิบัติ /มาตรฐานระบบการชำระเงิน
  • ระเบียบ/ประกาศระบบการชำระเงิน
  • เทคโนโลยีทางการเงิน
  • การชำระเงินกับต่างประเทศ
สถิติ
  • สถิติตลาดการเงิน
  • สถิติเศรษฐกิจการเงิน
  • สถิติสถาบันการเงิน
  • สถิติระบบการชำระเงิน
  • สถิติเศรษฐกิจการเงินภูมิภาค
  • เครื่องชี้ภาวะเศรษฐกิจสำคัญ
  • แผนภูมิข้อมูลเศรษฐกิจสำคัญ
  • การรับส่งข้อมูลกับ ธปท.
  • บทความและเอกสารเผยแพร่ด้านสถิติ
  • คู่มือประชาชนด้านสถิติ
  • บริการข้อมูล BOT API
ตารางเวลาเผยแพร่
เงื่อนไขการให้บริการ
นโยบายคุ้มครอง
ข้อมูลส่วนบุคคล
เชื่อมโยง
คำถามถามบ่อย
ติดต่อ ธปท.

©2015 Bank of Thailand. All rights reserved.   ( เว็บไซต์นี้รับชมได้ดี ด้วยเว็บเบราว์เซอร์ Chrome, Safari, Firefox หรือ IE 10 ขึ้นไป )
สอบถาม/ข้อเสนอแนะ/ร้องเรียน
ลงทะเบียนรับข้อมูล/ข่าวสาร

ผู้จัดการบริการ
จตุพงษ์ โทร 0-2356-7578
สิริกาญจน์ โทร 0-2283-5747

©2015 Bank of Thailand. All rights reserved.