• ThaiCurrently selected
    • เกี่ยวกับ ธปท.
      • บทบาทหน้าที่และประวัติ
        • บทบาทหน้าที่ ธปท.
        • พันธกิจ/วิสัยทัศน์/ค่านิยมร่วม
        • ​​ประวัติธนาคารแห่งประเทศไทย
      • การกำกับดูแลกิจการที่ดี
      • ธปท. กับบทบาทการพัฒนาอย่างยั่งยืน
      • ความร่วมมือระหว่างประเทศ
        • สมาชิกองค์กรระหว่างประเทศ ​
        • เศรษฐกิจการเงินในกลุ่มประเทศ CLMV
        • ความร่วมมือทางวิชาการของ ธปท.
        • บทความที่น่าสนใจ
      • กฎหมาย/กฎเกณฑ์
      • ผังโครงสร้างองค์กร
        • ทำเนียบผู้บริหาร
        • ผู้บริหารระดับสูง
        • คณะกรรมการบริหารจัดการ (คบจ.)
      • คณะกรรมการ
        • การตรวจสอบการมีส่วนได้เสียกับ ธปท.
      • รายงานทางการเงิน
        • รายงานฐานะการเงินประจำสัปดาห์
      • รายงานประจำปี ธปท.
      • ธนบัตร
      • มูลนิธิ 50 ปี ธปท.
      • สมัครงานและทุน
      • พิพิธภัณฑ์และแหล่งเรียนรู้
      • ศคง. 1213
      • งานและกิจกรรม
80 ปี ธนาคารแห่งประเทศไทย

Skip Navigation LinksBible Bible

  • ธนาคารแห่งประเทศไทย
    • Thai
      • 80 ปี ธนาคารแห่งประเทศไทย
        • Bible
  • Recent
  • นโยบายการเงิน
    • นโยบายการเงิน - หน้าแรก
    • เอกสารเผยแพร่ของ กนง.
    • ความรู้เรื่องนโยบายการเงิน
    • ภาวะเศรษฐกิจไทย
      • แถลงข่าวและรายงานเศรษฐกิจรายเดือน
      • รายงานภาวะเศรษฐกิจไทยรายปี
      • รายงานฐานเงินและเงินสำรองระหว่างประเทศ
      • ดัชนีเศรษฐกิจ
    • เศรษฐกิจภูมิภาค
  • เกี่ยวกับ ธปท.
    • บทบาทหน้าที่และประวัติ
      • บทบาทหน้าที่ ธปท.
      • พันธกิจ/วิสัยทัศน์/ค่านิยมร่วม
      • ทิศทางการดำเนินงานสำคัญปี 2566
      • ​​ประวัติธนาคารแห่งประเทศไทย
    • การกำกับดูแลกิจการที่ดี
    • ความร่วมมือระหว่างประเทศ
      • สมาชิกองค์กรระหว่างประเทศ ​
      • เศรษฐกิจการเงินในกลุ่มประเทศ CLMV
      • ความร่วมมือทางวิชาการของ ธปท.
      • บทความที่น่าสนใจ
    • กฎหมาย/กฎเกณฑ์
    • ผังโครงสร้างองค์กร
      • ทำเนียบผู้บริหาร
      • ผู้บริหารระดับสูง
      • คณะกรรมการบริหารจัดการ (คบจ.)
    • คณะกรรมการ
      • การตรวจสอบการมีส่วนได้เสียกับ ธปท.
    • รายงานทางการเงิน
      • รายงานฐานะการเงินประจำสัปดาห์
    • รายงานประจำปี ธปท.
    • ธนบัตร
    • สมัครงานและทุน
    • พิพิธภัณฑ์และแหล่งเรียนรู้
    • ศคง. 1213
    • งานและกิจกรรม
  • สถาบันการเงิน
    • คณะกรรมการ กนส.
    • โครงสร้างระบบ สง. ไทย
    • บทบาทของ ธปท. <br/>ด้าน สง.
    • การกำหนดนโยบาย สง.
    • การกำกับตรวจสอบ สง.
    • ความร่วมมือกับผู้กำกับดูแลอื่น
    • ธุรกิจการเงินที่ ธปท. กำกับดูแล​​​​
    • มุมสถาบันการเงิน
    • เอกสารเผยแพร่
    • การธนาคารเพื่อความยั่งยืน
    • โครงการพัฒนา Digital Factoring Ecosystem
    • โครงการ API Standard
  • ตลาดการเงิน
    • การดำเนินนโยบายการเงิน
      • การดำรงสินทรัพย์สภาพคล่อง
      • การออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย
      • ธุรกรรมซื้อคืนพันธบัตรแบบทวิภาคี
      • ธุรกรรมซื้อหรือขายขาดตราสารหนี้ภาครัฐ
      • สวอปเงินตราต่างประเทศ
      • ธุรกรรมรับฝากเงิน ณ สิ้นวัน
      • ธุรกรรมให้กู้ยืมสภาพคล่อง ณ สิ้นวัน
      • ธุรกรรมการยืมตราสารหนี้
      • ​​​​การกู้ยืมเงินจาก ธปท. ด้วยวิธีขายสินทรัพย์​หลักประกัน
      • ธุรกรรมด้านตลาดการเงินเพื่อการบริหารสภาพคล่อง ในกรณี BAHTNET Offline
      • การสนับสนุนสภาพคล่องให้กับสถาบันการเงินที่ให้ความช่วยเหลือแก่กองทุนรวมตราสารหนี้
        • ธปท. มีความพร้อมในการให้ความช่วยเหลือกองทุนรวมตราสารหนี้ทุกกอง ที่ได้รับผลกระทบจากการขาดสภาพคล่องในตลาดการเงิน
        • ธปท. ขยายเกณฑ์มาตรการ MFLF ให้ครอบคลุมกองทุนตราสารหนี้ MMF และ Daily ทุกกองทุนและเพิ่มประเภทสินทรัพย์หลักประกันเพื่อขอสภาพคล่องผ่านธุรกรรม Repo กับ ธปท.
    • การพัฒนาตลาดการเงิน
      • วัตถุประสงค์ของการพัฒนาตลาดการเงิน
      • โครงสร้างตลาดการเงินไทย
      • บทบาทของ ธปท. ในการพัฒนาตลาดการเงิน
      • เอกสารเผยแพร่
    • การบริหารเงินสำรอง
      • เงินสำรองทางการของประเทศ
      • การกำกับดูแลการบริหารเงินสำรองทางการ
      • การบริหารเงินสำรองทางการ
    • ตลาดเงินตราต่างประเทศ
      • ​แนวปฏิบัติ FX Global Code
      • การบริหารความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน
      • บทความที่น่าสนใจ
    • หลักเกณฑ์การแลกเปลี่ยนเงิน
      • กฏหมายควบคุมการแลกเปลี่ยนเงิน
      • ธุรกิจปัจจัยชำระเงินต่างประเทศ
      • มาตรการป้องปรามการเก็งกำไรค่าเงินบาท
      • การลงทุนต่างประเทศสำหรับผู้ลงทุนรายย่อย
      • 7 ข้อเท็จจริงเรื่องค่าเงินบาท และการปรับตัวภายใต้ความผันผวนของเศรษฐกิจโลก
      • การขออนุญาตและส่งรายงานข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
      • แบบรายงาน
      • คู่มือประชาชน/ เอกสารเผยแพร่และชี้แจง
      • ติดต่อเจ้าหน้าที่
      • FAQs
    • การลงทุนโดยตรง ตปท.
      • เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการลงทุนโดยตรงในต่างประเทศ
      • ระเบียบและข้อกฏหมายที่เกี่ยวกับการลงทุนต่างประเทศ
      • บทความ งานศึกษา ที่น่าสนใจ
      • ข้อมูลเกี่ยวข้องกับการลงทุนโดยตรงในต่างประเทศ
      • เรื่องอื่น ๆ ที่น่าสนใจ
      • หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการลงทุนในต่างประเทศ
    • โครงการลงทะเบียนแสดงตัวตนของผู้ลงทุนตราสารหนี้ในประเทศไทย (BIR)
  • ระบบการชำระเงิน
    • คณะกรรมการ กรช.
    • นโยบายการชำระเงิน
    • การกำกับดูแลระบบการชำระเงิน
    • การกำกับตาม พ.ร.บ. ระบบการชำระเงิน 2560
      • ประกาศที่เกี่ยวข้อง
      • รายชื่อผู้ประกอบธุรกิจ
      • คู่มือสำหรับประชาชน (พรบ ระบบการชำระเงิน)
      • การขอรับใบอนุญาตประกอบธุรกิจ e-Payment
      • ค่าธรรมเนียม
      • การประชุมชี้แจง
      • ระบบงาน e-Application
      • ถาม-ตอบ
      • สรุปเกณฑ์การรายงาน/แจ้ง/ขออนุญาต สำหรับบริการ e-Payment
    • บริการระบบการชำระเงิน
      • ระบบบาทเนต
      • ระบบการหักบัญชีเช็คด้วยภาพเช็ค
    • ระเบียบ/ประกาศระบบการชำระเงิน
      • ระบบบาทเนต
      • การดำเนินการกรณีระบบบาทเนตไม่สามารถให้บริการได้โดยสิ้นเชิง (BAHTNET Offline)
      • ระบบการหักบัญชีเช็คด้วยภาพเช็คและระบบการจัดเก็บภาพเช็ค (ICAS)
      • การให้บริการด้านการเงินด้วยวิธีอิเล็กทรอนิกส์ (EFS)
      • การรับซื้อตราสารหนี้โดยมีสัญญาว่าผู้ขายจะซื้อคืนเพื่อเป็นเงินสภาพคล่องระหว่างวัน (ILF)
      • มาตรการจัดการความเสี่ยงจากการชำระดุลพร้อมกันหลายฝ่ายในระบบบาทเนต (SRS)
      • เวลาในการให้บริการโอนเงินข้ามธนาคารผ่านบาทเนต
      • ประกาศ หนังสือเวียน ที่เกี่ยวข้องกับระบบการชำระเงิน
      • แบบพิมพ์สำหรับธนาคารสมาชิก
    • แนวนโยบาย/แนวปฏิบัติ /มาตรฐานระบบการชำระเงิน
    • เทคโนโลยีทางการเงิน
      • QR Code เพื่อการชำระเงิน
      • การจัดกิจกรรมด้านเทคโนโลยีทางการเงิน
      • การประชุมชี้แจง
      • รายชื่อผู้ให้บริการ P2P Lending ใน Sandbox
      • แนวปฏิบัติ/แนวนโยบาย/หลักเกณฑ์ด้านเทคโนโลยีทางการเงิน
      • Eventphoto
    • การชำระเงินกับต่างประเทศ
      • กัมพูชา
      • ญี่ปุ่น
      • มาเลเซีย
      • เวียดนาม
      • สิงคโปร์
      • อินโดนีเซีย
  • สถิติ
    • สถิติตลาดการเงิน
      • อัตราแลกเปลี่ยน
      • อัตราดอกเบี้ย
      • ข้อมูลการบริหารสภาพคล่องของ ธปท. เพื่อการดำเนินนโยบายการเงิน
      • ตลาดทุน
      • บัญชีเงินฝากเงินตราต่างประเทศ (FCD)
        • AccountsandOutstandingofFCD
      • ธุรกรรมเงินตราต่างประเทศ
      • ธุรกรรมตราสารอนุพันธ์
      • ตราสารหนี้ที่ ธปท. เป็นนายทะเบียน
      • การลงทุนในหลักทรัพย์ต่างประเทศ
    • สถิติเศรษฐกิจการเงิน
      • ดัชนีและเครื่องชี้เศรษฐกิจ
        • ดัชนีและเครื่องชี้เศรษฐกิจ
        • เครื่องชี้อสังหาริมทรัพย์
        • ดัชนีเศรษฐกิจ
        • ดัชนีและเครื่องชี้ภาคเศรษฐกิจจริง
        • ดัชนีการค้าระหว่างประเทศ
        • เครื่องชี้เศรษฐกิจมหภาค
        • Indices
      • การเงินและการธนาคาร
        • บัญชีการเงิน
        • สินทรัพย์และหนี้สิน
        • สินทรัพย์และหนี้สินที่สำคัญ
        • ข้อมูลอื่นของสถาบันการเงิน
        • การเงินและการธนาคาร
        • LCR_TH
      • การคลัง
      • เศรษฐกิจภาคต่างประเทศของไทย
      • ภาคเศรษฐกิจจริง
      • สถิติอื่น ๆ
        • Financial Balance Sheets
        • FinancialSoundnessIndicators
    • สถิติสถาบันการเงิน
      • รายการย่อแสดงสินทรัพย์และหนี้สิน
      • อัตราดอกเบี้ยและค่าธรรมเนียม
      • ธนาคารพาณิชย์
      • ข้อมูลยอดคงค้าง NPLs และสินเชื่อ
      • ข้อมูลยอดคงค้างเงินให้สินเชื่อกล่าวถึงเป็นพิเศษ (SM)
      • ข้อมูลอัตราส่วนสำคัญเฉลี่ย (Peer Group)
      • บริษัทบริหารสินทรัพย์
      • ตารางข้อมูลที่ยุติการ update
        • ตารางข้อมูลที่ยุติการ update - บริษัทเงินทุน
        • ตารางข้อมูลที่ยุติการ update - บริษัทเครดิตฟองซิเอร์
    • สถิติระบบการชำระเงิน
    • สถิติเศรษฐกิจการเงินภูมิภาค
      • ภาคเหนือ
      • ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
      • ภาคใต้
    • เครื่องชี้ภาวะเศรษฐกิจสำคัญ
    • แผนภูมิข้อมูลเศรษฐกิจสำคัญ
    • การรับส่งข้อมูลกับ ธปท.
      • บริการรับ/ส่งข้อมูลทาง Internet
      • ระเบียบ หลักเกณฑ์ การรับส่งข้อมูล และรหัสมาตรฐาน
      • ข้อมูลแบบสำรวจ
      • แบบรายงานและเอกสารชี้แจง ข้อมูลระบบการชำระเงิน
      • แบบรายงานและเอกสารชี้แจง ข้อมูลตลาดการเงิน
      • แบบรายงานและเอกสารชี้แจง ข้อมูลสถาบันการเงิน
      • โครงการ Regulatory Data Transformation (RDT)
      • เอกสารประกอบการรายงานและเอกสารชี้แจง RDT
    • บทความและเอกสารเผยแพร่ด้านสถิติ
    • คู่มือประชาชนด้านสถิติ
    • บริการข้อมูล BOT API
  • จัดซื้อจัดจ้าง
    • สำนักงานใหญ่
    • สายออกบัตรธนาคาร
    • สำนักงานภาคเหนือ
    • สำนักงานภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
    • สำนักงานภาคใต้
  • ธนบัตร
    • แบบธนบัตร
    • การผลิตธนบัตร
    • การบริหารจัดการธนบัตร
    • คำถาม คำตอบ
    • การให้ความรู้ด้านธนบัตร
    • เกี่ยวกับสายออกบัตรธนาคาร
  • พันธบัตรและตราสารหนี้
    • ความรู้เกี่ยวกับตราสารหนี้ภาครัฐ
      • ประเภทของตราสารหนี้
      • หน้าที่ของธนาคารแห่งประเทศไทยที่เกี่ยวข้องกับตราสารหนี้ภาครัฐ
      • ผู้เกี่ยวข้องในตลาดตราสารหนี้และพันธบัตร
      • ความรู้พื้นฐานสำหรับการลงทุนในตราสารหนี้
    • ข้อมูลพันธบัตรและตราสารหนี้
      • ข้อมูลตราสารหนี้
        • สรุปความเคลื่อนไหวตราสารหนี้ภาครัฐในตลาดแรก
        • ตราสารหนี้คงค้าง จำหน่าย ไถ่ถอน
        • ข้อมูลตราสารหนี้รายรุ่น
        • อัตราดอกเบี้ยพันธบัตร
        • ปฏิทินการจ่ายดอกเบี้ยและไถ่ถอนเงินต้น
      • ภาพตัวอย่างตราสารหนี้ในอดีตและปัจจุบัน
      • เอกสารเผยแพร่
      • เว็บไซต์ที่เกี่ยวข้อง
    • การประมูลตราสารหนี้
      • กำหนดการประมูล
      • ผลการประมูล
      • รายชื่อ MOF Outright PD
      • อัตราผลตอบแทนถัวเฉลี่ยจากการประมูลจำแนกตามอายุ
    • Bond Switching
    • การออกจำหน่ายพันธบัตรให้แก่ประชาชน
      • พันธบัตรรัฐบาล
      • พันธบัตรรัฐวิสาหกิจ
      • พันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย
      • พันธบัตรกองทุนฟื้นฟูฯ
      • อัตราดอกเบี้ยพันธบัตรออมทรัพย์
      • หนังสือชี้ชวน
    • การทำธุรกรรมด้านพันธบัตรและตราสารหนี้
      • ธุรกรรมเกี่ยวกับตราสารหนี้ภาครัฐ
        • งานทะเบียนประวัติ
        • งานคำร้อง
        • งานเปลี่ยนแปลงกรรมสิทธิ์
        • การฝากตราสารหนี้ไว้กับ TSD / การถอนตราสารหนี้จาก TSD
        • การจ่ายดอกเบี้ยและจ่ายคืนเงินต้น
        • ค่าธรรมเนียม
        • แบบพิมพ์ด้านตราสารหนี้
      • บริการข้อมูลพันธบัตรทางอินเทอร์เน็ต
      • คำถาม-คำตอบ
      • คู่มือสำหรับประชาชน
    • ระเบียบและประกาศเกี่ยวกับธุรกรรมตราสารหนี้
    • ติดต่อเจ้าหน้าที่
  • พิพิธภัณฑ์ แหล่งเรียนรู้
    • ศูนย์การเรียนรู้ธนาคารแห่งประเทศไทย
    • วังบางขุนพรหม
    • วังเทวะเวสม์
    • พิพิธภัณฑ์สำนักงานภาคเหนือ
    • หอจดหมายเหตุ
    • ห้องสมุดส่วนภูมิภาค
    • สมบัติชาติที่ ธปท. ดูแล
  • เชื่อมโยง
  • SiteMap
  • ติดต่อ ธปท.
  • เงื่อนไขการให้บริการ
  • CSDummyPage3
  • BOT Enquiry
  • แผนยุทธศาสตร์ 3 ปี ธนาคารแห่งประเทศไทย
  • BOT MAGAZINE
    • BOTview
      • Executive's Talk
      • BOT People
    • INTERVIEW
      • Inspiration
      • Thought Leader
    • KNOWLEDGE
      • Central Banking
      • Special Scoop
      • Payment Systems
      • FinTech
      • เศรษฐกิจติดดิน
      • Financial Wisdom
      • Get to know
      • Global Trend
      • Highlight
      • The Knowledge
      • VocabStory
  • แผนที่และการเดินทางมาธนาคารแห่งประเทศไทย สำนักงานใหญ่
  • 80 ปี ธนาคารแห่งประเทศไทย
    • BOT-BIS
      • คู่มือสื่อมวลชน งาน BOT 80th Anniversary BOT-BIS conference
      • BOT-BIS Conference on "Central Banking Amidst Shifting Ground." for Participants
      • Media Guideline
      • Agenda
      • Post-Meeting Activities
      • BOT-BIS Conference on "Central Banking Amidst Shifting Ground."
    • CBDCHackathon
    • testlanding
    • Bible Currently selected
    • Year
    • ผลการแข่งขันโครงการ Policy Hackathon ของ ธปท. รอบที่ 1
    • Landommmmmmmm
    • InsightTalk_PolicyHackathon
    • ประกาศรายชื่อทีมที่ผ่านการคัดเลือกรอบที่ 2
  • NRO_Map

​

Templates Guild


1.heading

h1 templates heading

h2 templates heading

h3 templates heading

h4 templates heading

h5 templates heading

p templates heading


2.content

80 ปี ธนาคารแห่งประเทศไทย

เปลี่ยนแปลงเพื่อยืนหยัดดูแลเศรษฐกิจไทย

80 ปี ธนาคารแห่งประเทศไทย

เปลี่ยนแปลงเพื่อยืนหยัดดูแลเศรษฐกิจไทย

80 ปี ธนาคารแห่งประเทศไทย

เปลี่ยนแปลงเพื่อยืนหยัดดูแลเศรษฐกิจไทย


นับตั้งแต่ปี 2485 ที่ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.)

นับตั้งแต่ปี 2485 ที่ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.)

นับตั้งแต่ปี 2485 ที่ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) ได้เปิดทำการจนถึงปัจจุบันเป็นระยะเวลา 80 ปี

นับตั้งแต่ปี 2485 ที่ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) ได้เปิดทำการจนถึงปัจจุบันเป็นระยะเวลา 80 ปี

นับตั้งแต่ปี 2485 ที่ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) ได้เปิดทำการจนถึงปัจจุบันเป็นระยะเวลา 80 ปี

นับตั้งแต่ปี 2485 ที่ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) ได้เปิดทำการจนถึงปัจจุบันเป็นระยะเวลา 80 ปี ได้เปิดทำการจนถึงปัจจุบันเป็นระยะเวลา 80 ปี

  • บนเส้นทางกาลเวลาที่ผ่านมากว่า 80 ปี
  • บนเส้นทางกาลเวลาที่ผ่านมากว่า 80 ปี
  • บนเส้นทางกาลเวลาที่ผ่านมากว่า 80 ปี
  • บนเส้นทางกาลเวลาที่ผ่านมากว่า 80 ปี
  • บนเส้นทางกาลเวลาที่ผ่านมากว่า 80 ปี
  • บนเส้นทางกาลเวลาที่ผ่านมากว่า 80 ปี
  • บนเส้นทางกาลเวลาที่ผ่านมากว่า 80 ปี
  • บนเส้นทางกาลเวลาที่ผ่านมากว่า 80 ปี
  • บนเส้นทางกาลเวลาที่ผ่านมากว่า 80 ปี
  • บนเส้นทางกาลเวลาที่ผ่านมากว่า 80 ปี
  • บนเส้นทางกาลเวลาที่ผ่านมากว่า 80 ปี
  • บนเส้นทางกาลเวลาที่ผ่านมากว่า 80 ปี
  • บนเส้นทางกาลเวลาที่ผ่านมากว่า 80 ปี
  • บนเส้นทางกาลเวลาที่ผ่านมากว่า 80 ปี
  • บนเส้นทางกาลเวลาที่ผ่านมากว่า 80 ปี
  • บนเส้นทางกาลเวลาที่ผ่านมากว่า 80 ปี
  • บนเส้นทางกาลเวลาที่ผ่านมากว่า 80 ปี
  • บนเส้นทางกาลเวลาที่ผ่านมากว่า 80 ปี
  • บนเส้นทางกาลเวลาที่ผ่านมากว่า 80 ปี
  • บนเส้นทางกาลเวลาที่ผ่านมากว่า 80 ปี

3.title

เป้าหมาย การจัด Policy Hackathon ครั้งนี้ คืออะไร

เป้าหมาย การจัด Policy Hackathon ครั้งนี้ คืออะไร


ความร่วมมือกับผู้ที่เกี่ยวข้อง



ความร่วมมือกับผู้ที่เกี่ยวข้อง

ความร่วมมือกับผู้ที่เกี่ยวข้อง



4.hero banner

 
 
 

4. 80 ปี section 1

ตลอดระยะเวลา 80 ปีที่ผ่านมา

ธปท. ยึดมั่นในปณิธานที่จะดูแลให้เศรษฐกิจการเงินมีเสถียรภาพ ผ่านการเรียนรู้และสั่งสมประสบการณ์
เพื่อปรับปรุงให้การดำเนินนโยบายเหมาะสมสอดคล้องกับบริบทที่เปลี่ยนแปลงไป และเมื่อมองไปข้างหน้า
การทำหน้าที่ของธนาคารกลางยังมีความท้าทาย จากภูมิทัศน์ทางการเงินที่เปลี่ยนแปลงรวดเร็ว รวมถึงปัญหาสิ่งแวดล้อม
และความเหลื่อมล้ำที่ทวีความรุนแรงมากขึ้น แต่ ธปท. จะยังคงยึดมั่นในปณิธานอย่างไม่เปลี่ยนแปลง
และพร้อมที่จะปรับตัวเพื่อพัฒนาระบบการเงินไทยอย่างยั่งยืนต่อไป


5. 80 ปี section 2

สานต่อพันธกิจท่ามกลางการเปลี่ยนแปลง

ปีนี้ครบรอบ 80 ปีของธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) ซึ่งเป็นองค์กรที่มีบทบาทสำคัญอย่างยิ่งต่อเศรษฐกิจของประเทศทั้งในอดีตและปัจจุบัน ตลอดเวลาที่ผ่านมายาวนานผู้บริหารและเจ้าหน้าที่ของธนาคารได้ทำงานอย่างทุ่มเท และยึดมั่นในหลักการที่ถูกต้องในการดำเนินนโยบายการเงินและการพัฒนาระบบการเงินของประเทศ จนได้รับการยอมรับถึงความเป็นองค์กรชั้นนำทั้งจากในและต่างประเทศ และในปัจจุบันก็มุ่งมั่นที่จะดำเนินภารกิจเพื่อให้ประเทศก้าวหน้าและเกิดประโยชน์ต่อประชาชนต่อไป

ดร. ปรเมธี วิมลศิริ ประธานกรรมการธนาคารแห่งประเทศไทย

ในบริบทของโลกที่เปลี่ยนเร็ว เราอาจไม่สามารถปฏิเสธการเปลี่ยนแปลงได้เสมอไป เราจึงต้องมองไปข้างหน้าและ “ปรับ” องค์กรของเราเพื่อรับมือกับความเปลี่ยนแปลงที่กำลังจะมาถึง แต่การปรับตัวนี้ ก็เพื่อให้ ธปท. สามารถยืนหยัด ทำตามหน้าที่และพันธกิจขององค์กร ในการสร้างความเป็นอยู่ที่ดีอย่างยั่งยืนให้กับคนไทย เช่นเดียวกับที่เราได้ทำตลอด 80 ปีที่ผ่านมา

ดร.เศรษฐพุฒิ สุทธิวาทนฤพุฒิ ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย

80 ปี ธนาคารแห่งประเทศไทย เปลี่ยนแปลงเพื่อยืนหยัดดูแลเศรษฐกิจไทย

นับตั้งแต่ปี 2485 ที่ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) ได้เปิดทำการจนถึงปัจจุบันเป็นระยะเวลา 80 ปี หากเปรียบเป็นการเดินทางบนถนนสายหนึ่ง ก็นับว่าผ่านระยะทางมาไกลพอสมควร เมื่อมองย้อนกลับไป การเดินทางมีทั้งช่วงที่ถนนราบเรียบและขรุขระ แต่เส้นทางสายนี้ยังคงทอดยาว และไม่ว่าจะเป็นช่วงใด ธปท. ก็มีหน้าที่ดูแลเศรษฐกิจไทยให้เดินทางอย่างปลอดภัย ตัดสินใจเมื่อเจอทางแยกว่าจะไปทางไหน หรือแม้กระทั่งก้าวไปบนถนนสายใหม่ที่เราไม่เคยรู้จัก

อ่านต่อ

80 ปีธนาคารแห่งประเทศไทย

การเดินทางเคียงข้างเศรษฐกิจไทย

 
 

6. 80 ปี section 3

ความร่วมมือกับผู้ที่เกี่ยวข้อง

ตลอดระยะเวลา 80 ปีที่ผ่านมา ธปท.เพียงหน่วยงานเดียว คงไม่สามารถทำหน้าที่ดูแลความมั่นคงของระบบเศรษฐกิจการเงินไทยได้โดยลำพัง จำเป็นต้องอาศัยความร่วมมืออย่างต่อเนื่องจากภาครัฐ ภาคธุรกิจ และภาคประชาชน รวมถึงความร่วมมือในเวทีต่างประเทศ เพื่อดำเนินนโยบายที่ตอบโจทย์และนำไปปฏิบัติได้จริงให้เหมาะสมกับการเปลี่ยนแปลงของสภาวะเศรษฐกิจ และ ธปท. ยังให้ความสำคัญกับการขยายความร่วมมือกับภาคส่วนต่าง ๆ เพื่มเติมอย่างต่อเนื่อง เพื่อมุ่งพัฒนาระบบเศรษฐกิจการเงินและความเป็นอยู่ที่ดีอย่างยั่งยืนของไทย

การแลกเปลี่ยนข้อมูลกับภาคประชาชน

ธปท. ให้ความสำคัญกับการพบปะแลกเปลี่ยนข้อมูลกับประชาชนมาอย่างต่อเนื่อง นับตั้งแต่สมัยผู้ว่าการ ดร.ป๋วย อึ๊งภากรณ์

ความร่วมมือกับภาครัฐและภาคเอกชน

การออกมาตรการสนับสนุนเพื่อช่วยเหลือภาคประชาชนและภาคธุรกิจ เช่น ในช่วงสถานการณ์โควิด ได้รับความร่วมมือจากหลายภาคส่วน

การพัฒนาระบบการเงินเพื่อความยั่งยืน

ธปท. ส่งเสริมให้ระบบสถาบันการเงินไทยตระหนักถึงความสำคัญและความเร่งด่วนของการดำเนินธุรกิจตามหลักการธนาคารเพื่อความยั่งยืน

การจัดงานสัมมนาวิชาการประจำปี

ธปท. จัดงานสัมมนาวิชาการมาตั้งแต่ปี 2543 เพื่อเป็นเวทีแลกเปลี่ยนความรู้และทำงานวิจัยร่วมกันของนักวิชาการ เพื่อจุดประกายความคิด นำไปสู่การพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ

การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานระบบการชำระเงิน

ธปท. ส่งเสริมให้เกิดความร่วมมือระหว่างผู้ที่เกี่ยวข้องในระบบการชำระเงิน โดยพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน รวมถึงออก พ.ร.บ. ระบบการชำระเงิน พ.ศ. 2560

การพัฒนานวัตกรรมทางการเงิน

ธปท.ได้รับความร่วมมือจากทุกภาคส่วนในการพัฒนานวัตกรรมทางการเงินอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้ประชาชนได้รับบริการทางการเงินที่ดีขึ้นอย่างก้าวกระโดดตั้งแต่ปี 2560

ความร่วมมือในเวทีต่างประเทศ

ธปท.ดำเนินการด้านความร่วมมือระหว่างประเทศ เพื่อสนับสนุนการดูแลเสถียรภาพทางเศรษฐกิจการเงิน และเสริมสร้างบทบาทของ ธปท.ให้เป็นที่ยอมรับในระดับสากล

ความร่วมมือเพื่อพัฒนาการกำกับดูแล

หน่วยงานกำกับดูแลทำงานร่วมกันอย่างใกล้ชิด เพื่อพัฒนาการกำกับดูแลอย่างต่อเนื่องให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ประชาชน

การให้ความรู้แก่ประชาชน

ธปท. ประสานพลังความร่วมมือกับหน่วยงานพันธมิตรภาครัฐและภาคเอกชน ในการส่งเสริมและพัฒนาความรู้ทางการเงิน เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันให้กับประชาชน

 

7. 80 ปี section 4

ปฏิทินกิจกรรม

04 เม.ย. 65

งานเสวนา เหลียวหลัง แลหน้า กับผู้ว่าการ ธปท.
การทำหน้าที่ของธนาคารกลางจากอดีต ส่งต่อสู่อนาคต ท่ามกลางสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนไป ผ่าน 6 อดีตผู้ว่าการ ธปท.

พ.ค.- 1 ก.ค. 65

Policy Hackathon
ขอเชิญชวนบุคคลทั่วไปเข้าร่วมแข่งขันออกแบบนโยบายอย่างสร้างสรรค์ ด้านการเงินดิจิทัล การเงินเพื่อสิ่งแวดล้อม และการแก้ปัญหาหนี้ เพื่อส่งเสริมการพัฒนาระบบการเงินอย่างยั่งยืน

29 ก.ย. 65

สัมมนาวิชาการ ธนาคารแห่งประเทศไทย
BOT Symposium : ธนาคารกลางในยุคแห่งความเปลี่ยนแปลง l Central Banking in the New Frontier

ต.ค. 65

Fintech Fair

8 พ.ย. 65

BOT Cultural Fair

ธ.ค. 65

BOT Exhibition

 

8. 80 ปี section 5

กิจกรรมที่ผ่านมา

BOT FINANCIAL LANDSCAPE CONSULTATION SESSION : เปิดมุมมองภูมิทัศน์ใหม่ภาคการเงินไทย

ธปท. ได้จัดงาน BOT Financial Landscape Consultation Session : เปิดมุมมองภูมิทัศน์ใหม่ภาคการเงินไทย เพื่อรับฟังสรุปใจความและความเห็นที่ได้รับต่อ BOT Financial Landscape Consultation Paper รวมถึงได้มีการจัดเสวนาพิเศษเพื่อแลกเปลี่ยนมุมมองและความเห็นจากผู้บริหารและผู้เชี่ยวชาญ

24 กุมภาพันธ์ 2565

เหลียวหน้า แลหลังกับผู้ว่าการ

จากวันแรกถึงวันนี้ ครบรอบ 80 ปี ธนาคารแห่งประเทศไทย ขอชวนทุกท่านมาเรียนรู้การทำหน้าที่ของธนาคารกลางผ่าน 6 อดีตผู้ว่าการ #แบงก์ชาติ ท่ามกลางความท้าทายและสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนไปเพื่อส่งต่อแนวคิดสู่อนาคต

4 เมษายน 2565



​Quote งาน Governors’ talk บทเรียนสำคัญจากรุ่นสู่รุ่น 

โจทย์สำคัญตอนเป็นผู้ว่าการแบงก์ชาติ คือ การเรียกความเชื่อมั่นและศรัทธาจากประชาชนที่มีต่อแบงก์ชาติ ให้กลับมาได้มากสุดเท่าที่จะทำได้หลังผ่านวิกฤตต้มยำกุ้ง โดยช่วงนั้นแบงก์ชาติเข้าไปแก้ปัญหาแบงก์ศรีนครได้อย่างราบรื่น รวดเร็ว ไม่กระทบความเชื่อมั่นของผู้ฝากเงิน ทำให้ภาพลักษณ์ของเราในแวดวงธนาคารดีขึ้น อีกทั้งเรายังช่วยแก้ปัญหาหนี้กองทุนฟื้นฟูฯ ผ่านการออกขายพันธบัตรช่วยชาติ ซึ่งเป็นการทำสิ่งที่ยากให้สำเร็จในเวลาอันสั้น ทำให้เรียกความเชื่อมั่นของประชาชนกลับมาได้มาก 

ม.ร.ว.ปรีดิยาธร เทวกุล

ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย

ปี 2544 – ปี 2549


Templates Guild


1.heading

h1 templates heading

h2 templates heading

h3 templates heading

h4 templates heading

h5 templates heading

p templates heading


2.content

80 ปี ธนาคารแห่งประเทศไทย

เปลี่ยนแปลงเพื่อยืนหยัดดูแลเศรษฐกิจไทย

80 ปี ธนาคารแห่งประเทศไทย

เปลี่ยนแปลงเพื่อยืนหยัดดูแลเศรษฐกิจไทย

80 ปี ธนาคารแห่งประเทศไทย

เปลี่ยนแปลงเพื่อยืนหยัดดูแลเศรษฐกิจไทย


นับตั้งแต่ปี 2485 ที่ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.)

นับตั้งแต่ปี 2485 ที่ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.)

นับตั้งแต่ปี 2485 ที่ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) ได้เปิดทำการจนถึงปัจจุบันเป็นระยะเวลา 80 ปี

นับตั้งแต่ปี 2485 ที่ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) ได้เปิดทำการจนถึงปัจจุบันเป็นระยะเวลา 80 ปี

นับตั้งแต่ปี 2485 ที่ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) ได้เปิดทำการจนถึงปัจจุบันเป็นระยะเวลา 80 ปี

นับตั้งแต่ปี 2485 ที่ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) ได้เปิดทำการจนถึงปัจจุบันเป็นระยะเวลา 80 ปี ได้เปิดทำการจนถึงปัจจุบันเป็นระยะเวลา 80 ปี

  • บนเส้นทางกาลเวลาที่ผ่านมากว่า 80 ปี
  • บนเส้นทางกาลเวลาที่ผ่านมากว่า 80 ปี
  • บนเส้นทางกาลเวลาที่ผ่านมากว่า 80 ปี
  • บนเส้นทางกาลเวลาที่ผ่านมากว่า 80 ปี
  • บนเส้นทางกาลเวลาที่ผ่านมากว่า 80 ปี
  • บนเส้นทางกาลเวลาที่ผ่านมากว่า 80 ปี
  • บนเส้นทางกาลเวลาที่ผ่านมากว่า 80 ปี
  • บนเส้นทางกาลเวลาที่ผ่านมากว่า 80 ปี
  • บนเส้นทางกาลเวลาที่ผ่านมากว่า 80 ปี
  • บนเส้นทางกาลเวลาที่ผ่านมากว่า 80 ปี
  • บนเส้นทางกาลเวลาที่ผ่านมากว่า 80 ปี
  • บนเส้นทางกาลเวลาที่ผ่านมากว่า 80 ปี
  • บนเส้นทางกาลเวลาที่ผ่านมากว่า 80 ปี
  • บนเส้นทางกาลเวลาที่ผ่านมากว่า 80 ปี
  • บนเส้นทางกาลเวลาที่ผ่านมากว่า 80 ปี
  • บนเส้นทางกาลเวลาที่ผ่านมากว่า 80 ปี
  • บนเส้นทางกาลเวลาที่ผ่านมากว่า 80 ปี
  • บนเส้นทางกาลเวลาที่ผ่านมากว่า 80 ปี
  • บนเส้นทางกาลเวลาที่ผ่านมากว่า 80 ปี
  • บนเส้นทางกาลเวลาที่ผ่านมากว่า 80 ปี

3.title

เป้าหมาย การจัด Policy Hackathon ครั้งนี้ คืออะไร

เป้าหมาย การจัด Policy Hackathon ครั้งนี้ คืออะไร


ความร่วมมือกับผู้ที่เกี่ยวข้อง



ความร่วมมือกับผู้ที่เกี่ยวข้อง

ความร่วมมือกับผู้ที่เกี่ยวข้อง



4.hero banner

4. 80 ปี section 1

ตลอดระยะเวลา 80 ปีที่ผ่านมา

ธปท. ยึดมั่นในปณิธานที่จะดูแลให้เศรษฐกิจการเงินมีเสถียรภาพ ผ่านการเรียนรู้และสั่งสมประสบการณ์
เพื่อปรับปรุงให้การดำเนินนโยบายเหมาะสมสอดคล้องกับบริบทที่เปลี่ยนแปลงไป และเมื่อมองไปข้างหน้า
การทำหน้าที่ของธนาคารกลางยังมีความท้าทาย จากภูมิทัศน์ทางการเงินที่เปลี่ยนแปลงรวดเร็ว รวมถึงปัญหาสิ่งแวดล้อม
และความเหลื่อมล้ำที่ทวีความรุนแรงมากขึ้น แต่ ธปท. จะยังคงยึดมั่นในปณิธานอย่างไม่เปลี่ยนแปลง
และพร้อมที่จะปรับตัวเพื่อพัฒนาระบบการเงินไทยอย่างยั่งยืนต่อไป

ลายเส้นที่ต่อเนื่อง (Continuity)

สื่อถึงการมุ่งรักษาความต่อเนื่อง
ในการดำเนินนโยบาย

ความเชื่อมโยงของเลข 8 และ 0

สื่อถึงความร่วมมือสอดประสาน
กับทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง

ลายเส้นในเลข 8

สื่อถึงการพัฒนาต่อยอดเทคโนโลยี
และนวัตกรรมทางการเงิน

องค์พระสยามเทวาธิราช

สื่อถึงการดูแลเสถียรภาพ เศรษฐกิจการเงินของประเทศ
อันเป็นหน้าที่หลักของแบงก์ชาติ

สีเขียว

สื่อถึงการดำเนินการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
เพื่อความยั่งยืน


5. 80 ปี section 2

สานต่อพันธกิจท่ามกลางการเปลี่ยนแปลง

ปีนี้ครบรอบ 80 ปีของธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) ซึ่งเป็นองค์กรที่มีบทบาทสำคัญอย่างยิ่งต่อเศรษฐกิจของประเทศทั้งในอดีตและปัจจุบัน ตลอดเวลาที่ผ่านมายาวนานผู้บริหารและเจ้าหน้าที่ของธนาคารได้ทำงานอย่างทุ่มเท และยึดมั่นในหลักการที่ถูกต้องในการดำเนินนโยบายการเงินและการพัฒนาระบบการเงินของประเทศ จนได้รับการยอมรับถึงความเป็นองค์กรชั้นนำทั้งจากในและต่างประเทศ และในปัจจุบันก็มุ่งมั่นที่จะดำเนินภารกิจเพื่อให้ประเทศก้าวหน้าและเกิดประโยชน์ต่อประชาชนต่อไป

ดร. ปรเมธี วิมลศิริ ประธานกรรมการธนาคารแห่งประเทศไทย

ในบริบทของโลกที่เปลี่ยนเร็ว เราอาจไม่สามารถปฏิเสธการเปลี่ยนแปลงได้เสมอไป เราจึงต้องมองไปข้างหน้าและ “ปรับ” องค์กรของเราเพื่อรับมือกับความเปลี่ยนแปลงที่กำลังจะมาถึง แต่การปรับตัวนี้ ก็เพื่อให้ ธปท. สามารถยืนหยัด ทำตามหน้าที่และพันธกิจขององค์กร ในการสร้างความเป็นอยู่ที่ดีอย่างยั่งยืนให้กับคนไทย เช่นเดียวกับที่เราได้ทำตลอด 80 ปีที่ผ่านมา

ดร.เศรษฐพุฒิ สุทธิวาทนฤพุฒิ ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย

80 ปี ธนาคารแห่งประเทศไทย เปลี่ยนแปลงเพื่อยืนหยัดดูแลเศรษฐกิจไทย

นับตั้งแต่ปี 2485 ที่ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) ได้เปิดทำการจนถึงปัจจุบันเป็นระยะเวลา 80 ปี หากเปรียบเป็นการเดินทางบนถนนสายหนึ่ง ก็นับว่าผ่านระยะทางมาไกลพอสมควร เมื่อมองย้อนกลับไป การเดินทางมีทั้งช่วงที่ถนนราบเรียบและขรุขระ แต่เส้นทางสายนี้ยังคงทอดยาว และไม่ว่าจะเป็นช่วงใด ธปท. ก็มีหน้าที่ดูแลเศรษฐกิจไทยให้เดินทางอย่างปลอดภัย ตัดสินใจเมื่อเจอทางแยกว่าจะไปทางไหน หรือแม้กระทั่งก้าวไปบนถนนสายใหม่ที่เราไม่เคยรู้จัก

อ่านต่อ

80 ปีธนาคารแห่งประเทศไทย

การเดินทางเคียงข้างเศรษฐกิจไทย

6. 80 ปี section 3

ความร่วมมือกับผู้ที่เกี่ยวข้อง

ตลอดระยะเวลา 80 ปีที่ผ่านมา ธปท.เพียงหน่วยงานเดียว คงไม่สามารถทำหน้าที่ดูแลความมั่นคงของระบบเศรษฐกิจการเงินไทยได้โดยลำพัง จำเป็นต้องอาศัยความร่วมมืออย่างต่อเนื่องจากภาครัฐ ภาคธุรกิจ และภาคประชาชน รวมถึงความร่วมมือในเวทีต่างประเทศ เพื่อดำเนินนโยบายที่ตอบโจทย์และนำไปปฏิบัติได้จริงให้เหมาะสมกับการเปลี่ยนแปลงของสภาวะเศรษฐกิจ และ ธปท. ยังให้ความสำคัญกับการขยายความร่วมมือกับภาคส่วนต่าง ๆ เพื่มเติมอย่างต่อเนื่อง เพื่อมุ่งพัฒนาระบบเศรษฐกิจการเงินและความเป็นอยู่ที่ดีอย่างยั่งยืนของไทย

การแลกเปลี่ยนข้อมูลกับภาคประชาชน

ธปท. ให้ความสำคัญกับการพบปะแลกเปลี่ยนข้อมูลกับประชาชนมาอย่างต่อเนื่อง นับตั้งแต่สมัยผู้ว่าการ ดร.ป๋วย อึ๊งภากรณ์

ความร่วมมือกับภาครัฐและภาคเอกชน

การออกมาตรการสนับสนุนเพื่อช่วยเหลือภาคประชาชนและภาคธุรกิจ เช่น ในช่วงสถานการณ์โควิด ได้รับความร่วมมือจากหลายภาคส่วน

การพัฒนาระบบการเงินเพื่อความยั่งยืน

ธปท. ส่งเสริมให้ระบบสถาบันการเงินไทยตระหนักถึงความสำคัญและความเร่งด่วนของการดำเนินธุรกิจตามหลักการธนาคารเพื่อความยั่งยืน

การจัดงานสัมมนาวิชาการประจำปี

ธปท. จัดงานสัมมนาวิชาการมาตั้งแต่ปี 2543 เพื่อเป็นเวทีแลกเปลี่ยนความรู้และทำงานวิจัยร่วมกันของนักวิชาการ เพื่อจุดประกายความคิด นำไปสู่การพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ

การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานระบบการชำระเงิน

ธปท. ส่งเสริมให้เกิดความร่วมมือระหว่างผู้ที่เกี่ยวข้องในระบบการชำระเงิน โดยพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน รวมถึงออก พ.ร.บ. ระบบการชำระเงิน พ.ศ. 2560

การพัฒนานวัตกรรมทางการเงิน

ธปท.ได้รับความร่วมมือจากทุกภาคส่วนในการพัฒนานวัตกรรมทางการเงินอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้ประชาชนได้รับบริการทางการเงินที่ดีขึ้นอย่างก้าวกระโดดตั้งแต่ปี 2560

ความร่วมมือในเวทีต่างประเทศ

ธปท.ดำเนินการด้านความร่วมมือระหว่างประเทศ เพื่อสนับสนุนการดูแลเสถียรภาพทางเศรษฐกิจการเงิน และเสริมสร้างบทบาทของ ธปท.ให้เป็นที่ยอมรับในระดับสากล

ความร่วมมือเพื่อพัฒนาการกำกับดูแล

หน่วยงานกำกับดูแลทำงานร่วมกันอย่างใกล้ชิด เพื่อพัฒนาการกำกับดูแลอย่างต่อเนื่องให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ประชาชน

การให้ความรู้แก่ประชาชน

ธปท. ประสานพลังความร่วมมือกับหน่วยงานพันธมิตรภาครัฐและภาคเอกชน ในการส่งเสริมและพัฒนาความรู้ทางการเงิน เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันให้กับประชาชน

7. 80 ปี section 4

ปฏิทินกิจกรรม

04 เม.ย. 65

งานเสวนา เหลียวหลัง แลหน้า กับผู้ว่าการ ธปท.
การทำหน้าที่ของธนาคารกลางจากอดีต ส่งต่อสู่อนาคต ท่ามกลางสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนไป ผ่าน 6 อดีตผู้ว่าการ ธปท.

พ.ค.- 1 ก.ค. 65

Policy Hackathon
ขอเชิญชวนบุคคลทั่วไปเข้าร่วมแข่งขันออกแบบนโยบายอย่างสร้างสรรค์ ด้านการเงินดิจิทัล การเงินเพื่อสิ่งแวดล้อม และการแก้ปัญหาหนี้ เพื่อส่งเสริมการพัฒนาระบบการเงินอย่างยั่งยืน

29 ก.ย. 65

สัมมนาวิชาการ ธนาคารแห่งประเทศไทย
BOT Symposium : ธนาคารกลางในยุคแห่งความเปลี่ยนแปลง l Central Banking in the New Frontier

ต.ค. 65

Fintech Fair

8 พ.ย. 65

BOT Cultural Fair

ธ.ค. 65

BOT Exhibition

8. 80 ปี section 5

กิจกรรมที่ผ่านมา

BOT Financial Landscape Consultation Session : เปิดมุมมองภูมิทัศน์ใหม่ภาคการเงินไทย

ธปท. ได้จัดงาน BOT Financial Landscape Consultation Session : เปิดมุมมองภูมิทัศน์ใหม่ภาคการเงินไทย เพื่อรับฟังสรุปใจความและความเห็นที่ได้รับต่อ BOT Financial Landscape Consultation Paper รวมถึงได้มีการจัดเสวนาพิเศษเพื่อแลกเปลี่ยนมุมมองและความเห็นจากผู้บริหารและผู้เชี่ยวชาญ

24 กุมภาพันธ์ 2565

เหลียวหน้า แลหลังกับผู้ว่าการ

จากวันแรกถึงวันนี้ ครบรอบ 80 ปี ธนาคารแห่งประเทศไทย ขอชวนทุกท่านมาเรียนรู้การทำหน้าที่ของธนาคารกลางผ่าน 6 อดีตผู้ว่าการ #แบงก์ชาติ ท่ามกลางความท้าทายและสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนไปเพื่อส่งต่อแนวคิดสู่อนาคต

4 เมษายน 2565

Share
Tweet
Share
Tweet