• EN
    • EN
  • เกี่ยวกับ ธปท.
    • บทบาทหน้าที่และประวัติ
    • การกำกับดูแลกิจการที่ดี
    • ธปท. กับบทบาทการพัฒนาอย่างยั่งยืน
    • ความร่วมมือระหว่างประเทศ
    • กฎหมาย/กฎเกณฑ์
    • ผังโครงสร้างองค์กร
    • คณะกรรมการ
    • รายงานทางการเงิน
    • รายงานประจำปี ธปท.
    • ธนบัตร
    • มูลนิธิ 50 ปี ธปท.
    • สมัครงานและทุน
    • พิพิธภัณฑ์และแหล่งเรียนรู้
    • ศคง. 1213
    • งานและกิจกรรม
  • นโยบายการเงิน
    • คณะกรรมการ กนง.
    • เป้าหมายของนโยบายการเงิน
    • กำหนดการประชุม
    • ผลการประชุม กนง.
    • เอกสารเผยแพร่ของ กนง.
    • ความรู้เรื่องนโยบายการเงิน
    • ภาวะเศรษฐกิจไทย
    • เศรษฐกิจภูมิภาค
    • งานวิจัยและสัมมนาวิชาการ
  • สถาบันการเงิน
    • คณะกรรมการ กนส.
    • โครงสร้างระบบ สง. ไทย
    • บทบาทของ ธปท. ด้าน สง.
    • การกำหนดนโยบาย สง.
    • การกำกับตรวจสอบ สง.
    • ความร่วมมือกับผู้กำกับดูแลอื่น
    • ธุรกิจการเงินที่ ธปท. กำกับดูแล​​​​
    • มุมสถาบันการเงิน
    • การธนาคารเพื่อความยั่งยืน
    • โครงการพัฒนา Digital Factoring Ecosystem
    • โครงการ API Standard
  • ตลาดการเงิน
    • การดำเนินนโยบายการเงิน
    • การบริหารเงินสำรอง
    • การพัฒนาตลาดการเงิน
    • ตลาดเงินตราต่างประเทศ
    • หลักเกณฑ์การแลกเปลี่ยนเงิน
    • การลงทุนโดยตรง ตปท.
    • อัตราดอกเบี้ยอ้างอิงและแนวทางรองรับการยุติการใช้ LIBOR
    • โครงการลงทะเบียนแสดงตัวตนของผู้ลงทุนตราสารหนี้ในประเทศไทย (BIR)
  • ระบบการชำระเงิน
    • คณะกรรมการ กรช.
    • นโยบายการชำระเงิน
    • การกำกับดูแลระบบการชำระเงิน
    • การกำกับตาม พ.ร.บ. ระบบการชำระเงิน 2560
    • บริการระบบการชำระเงิน
    • แนวนโยบาย/แนวปฏิบัติ /มาตรฐานระบบการชำระเงิน
    • ระเบียบ/ประกาศระบบการชำระเงิน
    • เทคโนโลยีทางการเงิน
    • การกำกับและตรวจสอบความเสี่ยงด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
    • การชำระเงินกับต่างประเทศ
  • วิจัยและสัมมนา
    • งานวิจัย
    • งานสัมมนา
    • สถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย ​อึ๊งภากรณ์
  • สถิติ
    • สถิติตลาดการเงิน
    • สถิติเศรษฐกิจการเงิน
    • สถิติสถาบันการเงิน
    • สถิติระบบการชำระเงิน
    • สถิติเศรษฐกิจการเงินภูมิภาค
    • เครื่องชี้ภาวะเศรษฐกิจสำคัญ
    • แผนภูมิข้อมูลเศรษฐกิจสำคัญ
    • การรับส่งข้อมูลกับ ธปท.
    • บทความและเอกสารเผยแพร่ด้านสถิติ
    • คู่มือประชาชนด้านสถิติ
    • บริการข้อมูล BOT API

  • หน้าหลัก
  • > BOT MAGAZINE
BOT MAGAZINE
    • Executive's Talk
    • BOT People
    • Inspiration
    • Thought Leader
    • Central Banking
    • Special Scoop
    • Payment Systems
    • FinTech
    • เศรษฐกิจติดดิน
    • Financial Wisdom
    • Get to know
    • Global Trend
    • Highlight
    • The Knowledge
    • VocabStory
BOT MAGAZINE
  • คลิปวีดีโอ
  • BOTview
    • Executive's Talk
    • BOT People
  • INTERVIEW
    • Inspiration
    • Thought Leader
  • KNOWLEDGE
    • Central Banking
    • Special Scoop
    • Payment Systems
    • FinTech
    • เศรษฐกิจติดดิน
    • Financial Wisdom
    • Get to know
    • Global Trend
    • Highlight
    • The Knowledge
    • VocabStory
  • ฉบับล่าสุด
  • ฉบับย้อนหลัง
​ Financial Health Check จุดเริ่มต้นของความยั่งยืนทางการเงินส่วนบุคคล
​


"ความยั่งยืน" เป็นคำที่หน่วยงานหลายแห่งกำลังพูดถึงและให้ความสำคัญมากขึ้นเรื่อย ๆ ไม่ว่าจะเรื่องเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และธรรมาภิบาล แต่ในระดับบุคคล หลายคนอาจรู้สึกว่าไม่ได้เกี่ยวอะไรกับการใช้ชีวิตประจำวัน จับต้องไม่ได้ และใช้เวลานานเกินจะอดทนรอ ทั้งที่ความจริงแล้ว ความยั่งยืนในระดับบุคคลก็มีความสำคัญไม่ยิ่งหย่อนไปกว่ากัน โดยเฉพาะความยั่งยืนทางการเงินส่วนบุคคล

          หลักสำคัญของการสร้างความยั่งยืนทางการเงินส่วนบุคคล ไม่ใช่การแสวงหาความมั่งคั่งร่ำรวย แต่หมายถึงความมั่นคงทางการเงินมากกว่า ไม่ว่าจะเป็นการมีกินมีใช้ตามความจำเป็นพื้นฐานของชีวิตเป็นอย่างน้อย ไม่มีหนี้สินล้นพ้นตัว ไม่เดือดร้อนยามมีเหตุฉุกเฉินต้องใช้เงินเพราะมีเงินออมหรือแผนรองรับวิกฤติ และถ้ามีกำลังพอที่จะทำความฝันต่าง ๆ ของตัวเองให้สำเร็จได้ด้วยยิ่งดี ใครที่อยากไปถึงจุดนั้น ขอแนะนำให้เริ่มต้นด้วยการวัดเป็นตัวเลขว่า ณ วันนี้ สุขภาพการเงินของเราเป็นอย่างไร 

          ตอนนี้ใครยังไม่มีกระดาษและปากกาอยู่ใกล้ตัว ให้เวลาไปหยิบสักครู่ การตรวจสุขภาพการเงิน (Financial Health Check) ใช้ตัวเลขเพียง 4 แบบเท่านั้น ได้แก่ รายได้ต่อเดือน เงินออมต่อเดือน ภาระผ่อนหนี้ต่อเดือน และรายจ่ายจำเป็นต่อเดือน จากนั้นนำตัวเลขมาคำนวณง่าย ๆ ตามสูตร 3 สูตรต่อไปนี้ ก็จะทราบแล้วว่าตอนนี้สุขภาพการเงินของคุณแต่ละด้านดีแค่ไหนหรือควรปรับปรุงอะไรบ้าง

~

          มาเริ่มกันที่สัดส่วนการออมต่อเดือน ให้นำ เงินออมต่อเดือนหารด้วยรายได้ต่อเดือน ซึ่งสัดส่วนการออมต่อเดือนที่เหมาะสม คือ อย่างน้อย 1 ใน 4 ของรายได้ (ร้อยละ 25) หากรู้สึกว่าหนักมากเกินไป ให้เริ่มออมที่ร้อยละ 10 ของรายได้ แล้วค่อย ๆ เพิ่มเมื่อมีรายได้มากขึ้น แต่อย่าลืมวางแผนแบ่งเงินออมเป็นส่วน ๆ ตามความจำเป็นและเป้าหมายในชีวิต รวมทั้งระยะเวลาที่จะใช้เงิน คือ ระยะสั้น ระยะกลาง หรือระยะยาว รวมถึงหาความรู้เรื่องการลงทุนที่ถูกต้องก่อนตัดสินใจลงทุน

          ต่อมาภาระผ่อนหนี้ต่อเดือน หาจาก ภาระผ่อนหนี้ต่อเดือนหารด้วยรายได้ต่อเดือน ซึ่งสัดส่วนที่สบายใจได้ว่าไม่มีหนี้เกินตัว คือ ไม่เกิน 1 ใน 3 ของรายได้ (ร้อยละ 33) และจะให้ดีควรเป็นหนี้เท่าที่จำเป็นและจ่ายไหว ชำระหนี้ให้เต็มจำนวนและตรงเวลา และอย่ากู้เพิ่มถ้าไม่จำเป็น

~

          สุดท้ายเงินออมเผื่อฉุกเฉิน คิดจาก รายจ่ายจำเป็นต่อเดือนรวมกับภาระผ่อนหนี้ต่อเดือน แล้วคูณ 3 หรือ 6 จากนั้นเทียบกับเงินเผื่อฉุกเฉินที่มีอยู่แล้วว่าครบ ขาด หรือเกินจากค่ามาตรฐานเท่าไร ซึ่งเราควรสะสมเงินออมเผื่อฉุกเฉินให้ได้ 3 - 6 เท่า ของรายจ่ายจำเป็นและภาระผ่อนหนี้ต่อเดือน เผื่อไว้ใช้ในเหตุการณ์จำเป็นต้องใช้เงินเร่งด่วน เช่น เจ็บป่วย อุบัติเหตุ ตกงาน แม้ประสบเหตุร้าย แต่เราก็ยังพึ่งตัวเองได้ ไม่เดือดร้อนต้องไปหยิบยืมใคร โดยฝากในบัญชีเงินฝากออมทรัพย์ จะได้ถอนมาใช้สะดวกและทันเวลา และถ้าใครเก็บได้มากกว่า 6 เท่า ขอแนะนำให้นำส่วนที่เกินไปออมหรือลงทุนเพื่อไม่ให้เสียโอกาสในการหาผลตอบแทนที่สูงขึ้น 

~

          ดังนั้น ไม่ว่าคุณจะเป็นใคร อยู่ช่วงวัยใด หรือฐานะทางการเงินเป็นอย่างไร การตรวจสุขภาพการเงินจะช่วยในการวินิจฉัยสถานการณ์ทางการเงินในปัจจุบัน หากพบปัญหาจะได้รักษาได้อย่างทันท่วงทีก่อนที่จะเรื้อรัง ที่สำคัญสามารถนำมาใช้เป็นจุดเริ่มต้นในการวางแผนเพื่อให้มีสุขภาพการเงินที่แข็งแรงต่อไปอย่างยั่งยืนได้ด้วย

          ท่านใดสนใจสร้างความยั่งยืนทางการเงินของตนเอง สามารถมาเริ่มนับหนึ่งได้ที่ BOT Lounge ชั้น 1 ศูนย์การเรียนรู้ ธนาคารแห่งประเทศไทย จะมาแบบฉายเดี่ยว ชวนเพื่อน จูงมือพ่อ ควงแขนแม่ หรือพาแฟนมาด้วยก็ได้ หรือดาวน์โหลดโปรแกรมตรวจสุขภาพการเงินติดบ้านไว้เหมือนเครื่องวัดความดันโลหิตหรือปรอทวัดไข้ประจำบ้านได้ที่ www.1213.or.th/th/GeneralPublish/FinHealthCheck_BOT.zip เมื่อทราบผลของตนเองแล้ว ก็ควรดูแลรักษาสุขภาพการเงินให้แข็งแรงอยู่เสมอ และตรวจสุขภาพการเงินเป็นประจำอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง เพื่อไปให้ถึงปลายทางคือความยั่งยืนทางการเงินของแต่ละคน ซึ่งจะส่งผลไปถึงความยั่งยืนทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศในที่สุด

>> ดาวน์โหลด PDF Version

>> อ่าน e-Magazine

Share
Tweet
Share
Tweet
เกี่ยวกับ ธปท.
  • บทบาทหน้าที่และประวัติ
  • การกำกับดูแลกิจการที่ดี
  • ธปท. กับบทบาทการพัฒนาอย่างยั่งยืน
  • ความร่วมมือระหว่างประเทศ
  • กฎหมาย/กฎเกณฑ์
  • ผังโครงสร้างองค์กร
  • คณะกรรมการ
  • รายงานทางการเงิน
  • รายงานประจำปี ธปท.
  • ธนบัตร
  • มูลนิธิ 50 ปี ธปท.
  • สมัครงานและทุน
  • พิพิธภัณฑ์และแหล่งเรียนรู้
  • ศคง. 1213
  • งานและกิจกรรม
นโยบายการเงิน
  • คณะกรรมการ กนง.
  • เป้าหมายของนโยบายการเงิน
  • กำหนดการประชุม
  • ผลการประชุม กนง.
  • เอกสารเผยแพร่ของ กนง.
  • ความรู้เรื่องนโยบายการเงิน
  • ภาวะเศรษฐกิจไทย
  • เศรษฐกิจภูมิภาค
  • งานวิจัยและสัมมนาวิชาการ
สถาบันการเงิน
  • คณะกรรมการ กนส.
  • โครงสร้างระบบ สง. ไทย
  • บทบาทของ ธปท. ด้าน สง.
  • การกำหนดนโยบาย สง.
  • การกำกับตรวจสอบ สง.
  • ความร่วมมือกับผู้กำกับดูแลอื่น
  • ธุรกิจการเงินที่ ธปท. กำกับดูแล​​​​
  • มุมสถาบันการเงิน
  • การธนาคารเพื่อความยั่งยืน
  • โครงการพัฒนา Digital Factoring Ecosystem
  • โครงการ API Standard
ตลาดการเงิน
  • การดำเนินนโยบายการเงิน
  • การบริหารเงินสำรอง
  • การพัฒนาตลาดการเงิน
  • ตลาดเงินตราต่างประเทศ
  • หลักเกณฑ์การแลกเปลี่ยนเงิน
  • การลงทุนโดยตรง ตปท.
  • อัตราดอกเบี้ยอ้างอิงและแนวทางรองรับการยุติการใช้ LIBOR
  • โครงการลงทะเบียนแสดงตัวตนของผู้ลงทุนตราสารหนี้ในประเทศไทย (BIR)
ระบบการชำระเงิน
  • คณะกรรมการ กรช.
  • นโยบายการชำระเงิน
  • การกำกับดูแลระบบการชำระเงิน
  • การกำกับตาม พ.ร.บ. ระบบการชำระเงิน 2560
  • บริการระบบการชำระเงิน
  • แนวนโยบาย/แนวปฏิบัติ /มาตรฐานระบบการชำระเงิน
  • ระเบียบ/ประกาศระบบการชำระเงิน
  • เทคโนโลยีทางการเงิน
  • การกำกับและตรวจสอบความเสี่ยงด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
  • การชำระเงินกับต่างประเทศ
สถิติ
  • สถิติตลาดการเงิน
  • สถิติเศรษฐกิจการเงิน
  • สถิติสถาบันการเงิน
  • สถิติระบบการชำระเงิน
  • สถิติเศรษฐกิจการเงินภูมิภาค
  • เครื่องชี้ภาวะเศรษฐกิจสำคัญ
  • แผนภูมิข้อมูลเศรษฐกิจสำคัญ
  • การรับส่งข้อมูลกับ ธปท.
  • บทความและเอกสารเผยแพร่ด้านสถิติ
  • คู่มือประชาชนด้านสถิติ
  • บริการข้อมูล BOT API
ตารางเวลาเผยแพร่
เงื่อนไขการให้บริการ
นโยบายคุ้มครอง
ข้อมูลส่วนบุคคล
เชื่อมโยง
คำถามถามบ่อย
ติดต่อ ธปท.

©2015 Bank of Thailand. All rights reserved.   ( เว็บไซต์นี้รับชมได้ดี ด้วยเว็บเบราว์เซอร์ Chrome, Safari, Firefox หรือ IE 10 ขึ้นไป )
สอบถาม/ข้อเสนอแนะ/ร้องเรียน
ลงทะเบียนรับข้อมูล/ข่าวสาร

ผู้จัดการบริการ
สุพิชา โทร 0-2283-6440
จุฑามาศ โทร 0-2356-7551

©2015 Bank of Thailand. All rights reserved.