• EN
    • EN
  • เกี่ยวกับ ธปท.
    • บทบาทหน้าที่และประวัติ
    • การกำกับดูแลกิจการที่ดี
    • ธปท. กับบทบาทการพัฒนาอย่างยั่งยืน
    • ความร่วมมือระหว่างประเทศ
    • กฎหมาย/กฎเกณฑ์
    • ผังโครงสร้างองค์กร
    • คณะกรรมการ
    • รายงานทางการเงิน
    • รายงานประจำปี ธปท.
    • ธนบัตร
    • มูลนิธิ 50 ปี ธปท.
    • สมัครงานและทุน
    • พิพิธภัณฑ์และแหล่งเรียนรู้
    • ศคง. 1213
    • งานและกิจกรรม
  • นโยบายการเงิน
    • คณะกรรมการ กนง.
    • เป้าหมายของนโยบายการเงิน
    • กำหนดการประชุม
    • ผลการประชุม กนง.
    • เอกสารเผยแพร่ของ กนง.
    • ความรู้เรื่องนโยบายการเงิน
    • ภาวะเศรษฐกิจไทย
    • เศรษฐกิจภูมิภาค
    • งานวิจัยและสัมมนาวิชาการ
  • สถาบันการเงิน
    • คณะกรรมการ กนส.
    • โครงสร้างระบบ สง. ไทย
    • บทบาทของ ธปท. ด้าน สง.
    • การกำหนดนโยบาย สง.
    • การกำกับตรวจสอบ สง.
    • ความร่วมมือกับผู้กำกับดูแลอื่น
    • ธุรกิจการเงินที่ ธปท. กำกับดูแล​​​​
    • มุมสถาบันการเงิน
    • การธนาคารเพื่อความยั่งยืน
    • โครงการพัฒนา Digital Factoring Ecosystem
    • โครงการ API Standard
  • ตลาดการเงิน
    • การดำเนินนโยบายการเงิน
    • การบริหารเงินสำรอง
    • การพัฒนาตลาดการเงิน
    • ตลาดเงินตราต่างประเทศ
    • หลักเกณฑ์การแลกเปลี่ยนเงิน
    • การลงทุนโดยตรง ตปท.
    • อัตราดอกเบี้ยอ้างอิงและแนวทางรองรับการยุติการใช้ LIBOR
    • โครงการลงทะเบียนแสดงตัวตนของผู้ลงทุนตราสารหนี้ในประเทศไทย (BIR)
  • ระบบการชำระเงิน
    • คณะกรรมการ กรช.
    • นโยบายการชำระเงิน
    • การกำกับดูแลระบบการชำระเงิน
    • การกำกับตาม พ.ร.บ. ระบบการชำระเงิน 2560
    • บริการระบบการชำระเงิน
    • แนวนโยบาย/แนวปฏิบัติ /มาตรฐานระบบการชำระเงิน
    • ระเบียบ/ประกาศระบบการชำระเงิน
    • เทคโนโลยีทางการเงิน
    • การกำกับและตรวจสอบความเสี่ยงด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
    • การชำระเงินกับต่างประเทศ
  • วิจัยและสัมมนา
    • งานวิจัย
    • งานสัมมนา
    • สถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย ​อึ๊งภากรณ์
  • สถิติ
    • สถิติตลาดการเงิน
    • สถิติเศรษฐกิจการเงิน
    • สถิติสถาบันการเงิน
    • สถิติระบบการชำระเงิน
    • สถิติเศรษฐกิจการเงินภูมิภาค
    • เครื่องชี้ภาวะเศรษฐกิจสำคัญ
    • แผนภูมิข้อมูลเศรษฐกิจสำคัญ
    • การรับส่งข้อมูลกับ ธปท.
    • บทความและเอกสารเผยแพร่ด้านสถิติ
    • คู่มือประชาชนด้านสถิติ
    • บริการข้อมูล BOT API

  • หน้าหลัก
  • > BOT MAGAZINE
BOT MAGAZINE
    • Executive's Talk
    • BOT People
    • Inspiration
    • Thought Leader
    • Central Banking
    • Special Scoop
    • Payment Systems
    • FinTech
    • เศรษฐกิจติดดิน
    • Financial Wisdom
    • Get to know
    • Global Trend
    • Highlight
    • The Knowledge
BOT MAGAZINE
  • คลิปวีดีโอ
  • BOTview
    • Executive's Talk
    • BOT People
  • INTERVIEW
    • Inspiration
    • Thought Leader
  • KNOWLEDGE
    • Central Banking
    • Special Scoop
    • Payment Systems
    • FinTech
    • เศรษฐกิจติดดิน
    • Financial Wisdom
    • Get to know
    • Global Trend
    • Highlight
    • The Knowledge
  • ฉบับล่าสุด
  • ฉบับย้อนหลัง
​
ทำความรู้จักธนบัตรพอลิเมอร์ 20 บาท วัสดุใหม่เพื่อความยั่งยืน

 

ถ้าจะพูดถึงเงินธนบัตรในความคิดคนทั่ว ๆ ไป คนไทยส่วนใหญ่ย่อมจะนึกถึงธนบัตรที่ผลิตมาจากกระดาษ เพราะมีความคุ้นเคยกับวัสดุแบบนี้มาอย่างยาวนานตั้งแต่เล็กจนโต แต่รู้หรือไม่ว่า ธนบัตรที่เราใช้หมุนเวียนกันอยู่ทุกวันนี้ โดยเฉพาะชนิดราคาต่ำ มีอายุการใช้งานเฉลี่ยเพียง 2 - 3 ปี ก็จะเก่าชำรุดตามสภาพการใช้งาน และถูกนำกลับมาทำลายเพื่อผลิตธนบัตรใหม่ต่อไป       

          ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) ซึ่งมีหน้าที่ในการผลิตธนบัตร รวมถึงการบริหารจัดการให้มีธนบัตรเพียงพอต่อการใช้งานของคนในประเทศ เล็งเห็นว่าการเลือกใช้วัสดุอื่นที่ทนทานกว่าจะสามารถช่วยยืดอายุการใช้งานของธนบัตร และยังช่วยลดผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม จากการลดคาร์บอนฟุตพรินต์ที่เกิดในกระบวนการผลิตธนบัตรทดแทน การขนส่งและกระจายธนบัตร รวมทั้งการทำลายธนบัตรที่เสื่อมสภาพและหมดอายุการใช้งานได้อีกด้วย

          แม้ว่าธนบัตรกระดาษที่ใช้หมุนเวียนในปัจจุบันจะผลิตด้วยกระดาษที่ทำจากใยฝ้ายจะมีคุณสมบัติทนทานเหนียวแกร่ง พร้อมทั้งมีการเคลือบผิวเพื่อให้ทนทาน แต่สำหรับธนบัตรที่ประชาชนใช้จ่ายมากที่สุด มีการหมุนเวียนเปลี่ยนมือบ่อยมากอย่างธนบัตรชนิดราคา 20 บาท มักจะถูกหมุนเวียนอยู่ในระบบจนมีสภาพเก่ามากกว่าธนบัตรชนิดราคาอื่น ดังนั้น ธปท. จึงได้ศึกษาแนวทางการดำเนินการแก้ไขปัญหาโดยการเปลี่ยนวัสดุการพิมพ์จากกระดาษเป็นวัสดุอื่นที่ทนทานกว่า เพื่อให้ประชาชนได้ใช้ธนบัตรที่มีสภาพสะอาดและใช้งานได้นานขึ้น เป็นที่มาของการเปลี่ยนวัสดุการพิมพ์ธนบัตรชนิดราคา 20 บาท จาก "กระดาษ" เป็น "พอลิเมอร์"

ทำไมจึงเลือกใช้ธนบัตรพอลิเมอร์

          นับจากวันที่ ธปท. เริ่มมีแนวคิดที่จะเปลี่ยนวัสดุการพิมพ์ธนบัตรชนิดราคา 20 บาท จากกระดาษเป็นพอลิเมอร์ สิ่งที่หลายคนสงสัยตรงกันมากที่สุดคือ...ทำไมถึงควรเลือกพอลิเมอร์

          คำตอบคือพอลิเมอร์เป็นวัสดุที่มีพื้นผิวเรียบสะอาด ทนทาน และมีคุณสมบัติพิเศษคือ ทนทานต่อความชื้น ไม่ดูดซับสิ่งสกปรก และทำความสะอาดได้ง่าย ด้วยลักษณะเฉพาะของธนบัตรพอลิเมอร์ที่มีอายุการใช้งานและทนทานมากกว่าธนบัตรกระดาษ จึงทำให้การใช้ธนบัตรพอลิเมอร์มีความเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมมากกว่า ซึ่งสอดคล้องกับนโยบายของธนาคารกลางหลายประเทศ เช่น อังกฤษ แคนาดา ออสเตรเลีย มาเลเซีย สิงคโปร์ และเวียดนาม ที่ออกใช้ธนบัตรพอลิเมอร์ด้วยเช่นกัน



เปิดตัวธนบัตรพอลิเมอร์ 20 บาท

          เมื่อวันที่ 20 มกราคม 2565 ที่ผ่านมา ธปท. ได้แถลงข่าวเปิดตัวธนบัตรพอลิเมอร์ชนิดราคา 20 บาท  ที่พร้อมจะนำออกใช้หมุนเวียนในวันที่ 24 มีนาคม 2565

          ธนบัตรพอลิเมอร์ชนิดราคา 20 บาทนี้ มีภาพและลักษณะโดยรวมเหมือนกับธนบัตรกระดาษชนิดราคา 20 บาทที่หมุนเวียนในปัจจุบัน มีการใช้เทคโนโลยีต่อต้านการปลอมแปลงที่ทันสมัยและมีมาตรฐานขั้นสูง เพื่อให้ยากต่อการปลอมแปลงเช่นเดียวกับธนบัตรกระดาษชนิดราคา 20 บาทที่ใช้ในปัจจุบัน

          ธนบัตรพอลิเมอร์มีลักษณะต่อต้านการปลอมแปลงใหม่ที่ต่างจากเดิมเป็นจุดที่สังเกตได้ง่ายและยากต่อการปลอมแปลง ประชาชนสามารถตรวจสอบได้ด้วยวิธีการ "สัมผัส ยกส่อง และพลิกเอียง" ได้เช่นเดียวกันกับธนบัตรกระดาษ ดังนี้

 

          สำหรับผู้บกพร่องทางสายตา ยังสามารถสัมผัสสัญลักษณ์รูปดอกไม้พิมพ์นูน 2 ดอกแทนชนิดราคา 20 บาทได้เช่นเดิม และได้เพิ่มเติมจุดสังเกตอีก 1 แห่ง บริเวณช่องใสทรงหยดน้ำ จะมีตัวเลข "20" ขนาดเล็ก ดุนนูน เพื่อให้สัมผัสได้ง่ายขึ้น

          ธนบัตรพอลิเมอร์ชนิดราคา 20 บาทนี้ ประชาชนสามารถเบิกถอนผ่านธนาคารพาณิชย์และสถาบันการเงินเฉพาะกิจทุกแห่ง และสามารถใช้ควบคู่กับธนบัตรกระดาษได้ตามปกติ



>> ดาวน์โหลด PDF Version

Share
Tweet
Share
Tweet
เกี่ยวกับ ธปท.
  • บทบาทหน้าที่และประวัติ
  • การกำกับดูแลกิจการที่ดี
  • ธปท. กับบทบาทการพัฒนาอย่างยั่งยืน
  • ความร่วมมือระหว่างประเทศ
  • กฎหมาย/กฎเกณฑ์
  • ผังโครงสร้างองค์กร
  • คณะกรรมการ
  • รายงานทางการเงิน
  • รายงานประจำปี ธปท.
  • ธนบัตร
  • มูลนิธิ 50 ปี ธปท.
  • สมัครงานและทุน
  • พิพิธภัณฑ์และแหล่งเรียนรู้
  • ศคง. 1213
  • งานและกิจกรรม
นโยบายการเงิน
  • คณะกรรมการ กนง.
  • เป้าหมายของนโยบายการเงิน
  • กำหนดการประชุม
  • ผลการประชุม กนง.
  • เอกสารเผยแพร่ของ กนง.
  • ความรู้เรื่องนโยบายการเงิน
  • ภาวะเศรษฐกิจไทย
  • เศรษฐกิจภูมิภาค
  • งานวิจัยและสัมมนาวิชาการ
สถาบันการเงิน
  • คณะกรรมการ กนส.
  • โครงสร้างระบบ สง. ไทย
  • บทบาทของ ธปท. ด้าน สง.
  • การกำหนดนโยบาย สง.
  • การกำกับตรวจสอบ สง.
  • ความร่วมมือกับผู้กำกับดูแลอื่น
  • ธุรกิจการเงินที่ ธปท. กำกับดูแล​​​​
  • มุมสถาบันการเงิน
  • การธนาคารเพื่อความยั่งยืน
  • โครงการพัฒนา Digital Factoring Ecosystem
  • โครงการ API Standard
ตลาดการเงิน
  • การดำเนินนโยบายการเงิน
  • การบริหารเงินสำรอง
  • การพัฒนาตลาดการเงิน
  • ตลาดเงินตราต่างประเทศ
  • หลักเกณฑ์การแลกเปลี่ยนเงิน
  • การลงทุนโดยตรง ตปท.
  • อัตราดอกเบี้ยอ้างอิงและแนวทางรองรับการยุติการใช้ LIBOR
  • โครงการลงทะเบียนแสดงตัวตนของผู้ลงทุนตราสารหนี้ในประเทศไทย (BIR)
ระบบการชำระเงิน
  • คณะกรรมการ กรช.
  • นโยบายการชำระเงิน
  • การกำกับดูแลระบบการชำระเงิน
  • การกำกับตาม พ.ร.บ. ระบบการชำระเงิน 2560
  • บริการระบบการชำระเงิน
  • แนวนโยบาย/แนวปฏิบัติ /มาตรฐานระบบการชำระเงิน
  • ระเบียบ/ประกาศระบบการชำระเงิน
  • เทคโนโลยีทางการเงิน
  • การกำกับและตรวจสอบความเสี่ยงด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
  • การชำระเงินกับต่างประเทศ
สถิติ
  • สถิติตลาดการเงิน
  • สถิติเศรษฐกิจการเงิน
  • สถิติสถาบันการเงิน
  • สถิติระบบการชำระเงิน
  • สถิติเศรษฐกิจการเงินภูมิภาค
  • เครื่องชี้ภาวะเศรษฐกิจสำคัญ
  • แผนภูมิข้อมูลเศรษฐกิจสำคัญ
  • การรับส่งข้อมูลกับ ธปท.
  • บทความและเอกสารเผยแพร่ด้านสถิติ
  • คู่มือประชาชนด้านสถิติ
  • บริการข้อมูล BOT API
ตารางเวลาเผยแพร่
เงื่อนไขการให้บริการ
นโยบายคุ้มครอง
ข้อมูลส่วนบุคคล
เชื่อมโยง
คำถามถามบ่อย
ติดต่อ ธปท.

©2015 Bank of Thailand. All rights reserved.   ( เว็บไซต์นี้รับชมได้ดี ด้วยเว็บเบราว์เซอร์ Chrome, Safari, Firefox หรือ IE 10 ขึ้นไป )
สอบถาม/ข้อเสนอแนะ/ร้องเรียน
ลงทะเบียนรับข้อมูล/ข่าวสาร


©2015 Bank of Thailand. All rights reserved.