• EN
    • EN
  • เกี่ยวกับ ธปท.
    • บทบาทหน้าที่และประวัติ
    • การกำกับดูแลกิจการที่ดี
    • ธปท. กับบทบาทการพัฒนาอย่างยั่งยืน
    • ความร่วมมือระหว่างประเทศ
    • กฎหมาย/กฎเกณฑ์
    • ผังโครงสร้างองค์กร
    • คณะกรรมการ
    • รายงานทางการเงิน
    • รายงานประจำปี ธปท.
    • ธนบัตร
    • มูลนิธิ 50 ปี ธปท.
    • สมัครงานและทุน
    • พิพิธภัณฑ์และแหล่งเรียนรู้
    • ศคง. 1213
    • งานและกิจกรรม
  • นโยบายการเงิน
    • คณะกรรมการ กนง.
    • เป้าหมายของนโยบายการเงิน
    • กำหนดการประชุม
    • ผลการประชุม กนง.
    • เอกสารเผยแพร่ของ กนง.
    • ความรู้เรื่องนโยบายการเงิน
    • ภาวะเศรษฐกิจไทย
    • เศรษฐกิจภูมิภาค
    • งานวิจัยและสัมมนาวิชาการ
  • สถาบันการเงิน
    • คณะกรรมการ กนส.
    • โครงสร้างระบบ สง. ไทย
    • บทบาทของ ธปท. ด้าน สง.
    • การกำหนดนโยบาย สง.
    • การกำกับตรวจสอบ สง.
    • ความร่วมมือกับผู้กำกับดูแลอื่น
    • ธุรกิจการเงินที่ ธปท. กำกับดูแล​​​​
    • มุมสถาบันการเงิน
    • การธนาคารเพื่อความยั่งยืน
    • โครงการพัฒนา Digital Factoring Ecosystem
    • โครงการ API Standard
  • ตลาดการเงิน
    • การดำเนินนโยบายการเงิน
    • การบริหารเงินสำรอง
    • การพัฒนาตลาดการเงิน
    • ตลาดเงินตราต่างประเทศ
    • หลักเกณฑ์การแลกเปลี่ยนเงิน
    • การลงทุนโดยตรง ตปท.
    • อัตราดอกเบี้ยอ้างอิงและแนวทางรองรับการยุติการใช้ LIBOR
    • โครงการลงทะเบียนแสดงตัวตนของผู้ลงทุนตราสารหนี้ในประเทศไทย (BIR)
  • ระบบการชำระเงิน
    • คณะกรรมการ กรช.
    • นโยบายการชำระเงิน
    • การกำกับดูแลระบบการชำระเงิน
    • การกำกับตาม พ.ร.บ. ระบบการชำระเงิน 2560
    • บริการระบบการชำระเงิน
    • แนวนโยบาย/แนวปฏิบัติ /มาตรฐานระบบการชำระเงิน
    • ระเบียบ/ประกาศระบบการชำระเงิน
    • เทคโนโลยีทางการเงิน
    • การชำระเงินกับต่างประเทศ
  • วิจัยและสัมมนา
    • งานวิจัย
    • งานสัมมนา
    • สถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย ​อึ๊งภากรณ์
  • สถิติ
    • สถิติตลาดการเงิน
    • สถิติเศรษฐกิจการเงิน
    • สถิติสถาบันการเงิน
    • สถิติระบบการชำระเงิน
    • สถิติเศรษฐกิจการเงินภูมิภาค
    • เครื่องชี้ภาวะเศรษฐกิจสำคัญ
    • แผนภูมิข้อมูลเศรษฐกิจสำคัญ
    • การรับส่งข้อมูลกับ ธปท.
    • บทความและเอกสารเผยแพร่ด้านสถิติ
    • คู่มือประชาชนด้านสถิติ
    • บริการข้อมูล BOT API

  • ประชาชน
  • กลุ่มสถาบันการเงิน
  • ผู้ประกอบการ
  • นักวิชาการ
  • สื่อมวลชน
  • นักเรียน นักศึกษา
​

กฎหมา​​ยที่เกี่ยวข้อง

​
ธนาคารแห่งประเทศไทยมีขอบข่ายของภารกิจและความรับผิดชอบที่ครอบคลุมอย่างกว้างขวาง ทั้งในด้านของการรักษาเสถียรภาพเศรษฐกิจ ระบบการเงิน ระบบการชำระเงิน การซื้อขายเงินตราต่างประเทศ รวมถึงการกำกับดูแลสถาบันการเงิน การจะทำหน้าที่ในแต่ละด้านให้เกิดประสิทธิผลนั้นจำเป็นต้องมีการตรากฎหมายพิเศษเฉพาะขึ้นมาเพื่อรองรับการปฏิบัติหน้าที่ในด้านต่างๆ ทั้งในส่วนที่อยู่ในความรับผิดชอบของธปท. โดยตรง และส่วนที่ธปท. เข้าไปมีส่วนเกี่ยวข้องด้วย ยกตัวอย่างเช่น

พ.ร.บ. ธนาคารแห่งประเทศไทย ซึ่งกำหนดวัตถุประสงค์ ขอบเขตการทำงาน และโครงสร้างของธปท. เพื่อให้การดำเนินงานของธปท. เป็นไปตามมาตรฐานสากลของธนาคารกลาง 

พ.ร.บ. เงินตรา​​ ซึ่งกำหนดบทบาทในส่วนของการบริหารเงินสำรองระหว่างประเทศ การรักษาไว้ซึ่งทุนสำรองเงินตราตามกฎหมาย เพื่อดำรงเสถียรภาพและความน่าเชื่อถือของค่าเงินบาท ซึ่งรวมไปถึงการออกแบบ จัดพิมพ์ธนบัตร และบริหารจัดการธนบัตร เพื่อให้ประชาชนมีธนบัตรอยู่ในสภาพดีใช้อย่างเพียงพอ และเหมาะสมกับสภาวะเศรษฐกิจ 

พ.ร.บ.ควบคุมการแลกเปลี่ยนเงิน ซึ่งกำหนดบทบา​ทในด้านของการดูแลการแลกเปลี่ยนเงินหรือการดำเนินการอื่นใดซึ่งมีเงินตราต่างประเทศเข้ามาเกี่ยวข้องในทุกรูปแบบ

พ.ร.บ.ธุรกิจสถาบันการเงิน ซึ่งให้อำนาจธปท. ในการกำกับดูแลให้สถาบันการเงินมีความสามารถในการบริหารความเสี่ยง รวมถึงการกำหนดกฎเกณฑ์ที่จะกำกับให้กรรมการ ผู้บริหารและพนักงานของสถาบันการเงินปฏิบัติหน้าที่อย่างมีธรรมาภิบาล และไม่ให้เกิดความเสียหายกับเงินฝากของประชาชน​​​​

พ.ร.บ.สถาบันคุ้มครองเงินฝาก ​ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อคุ้มครองเงินฝากของผู้ฝากเงินในสถาบันการเงิน โดยเรียกเก็บเงินจากสถาบันการเงินเข้ามาสะสมไว้ในกองทุนคุ้มครองเงินฝาก เพื่อจ่ายคืนผู้ฝากเงินในกรณีที่สถาบันการเงินประสบปัญหาและถูกเพิกถอนใบอนุญาต 

พ.ร.บ.การประกอบธุรกิจข้อมูลเครดิต​ ซึ่งช่วยให้สถาบันการเงินสามารถเข้าถึงข้อมูลฐานะการเงินและประวัติการชำระหนี้ของลูกค้า เพื่อให้ทราบว่าลูกค้ามีภาระหนี้อยู่กับสถาบันการเงินอื่นมากน้อยเพียงใด ซึ่งจะทำให้สถาบันการเงินสามารถประเมินความเสี่ยงทางการเงินของลูกค้าได้อย่างถูกต้องแม่นยำมากขึ้น ซึ่งนอกจากจะช่วยลดปัญหาหนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้จากการปล่อยสินเชื่อใหม่ ยังช่วยเสริมสร้างความมั่นคงให้กับสถาบันการเงินและระบบสถาบันการเงินโดยรวม

พ.ร.ก. การให้ความช่วยเหลือทางการเงินแก่ผู้ที่ได้รับความเสียหายจากอุทกภัย พ.ศ. 2555 ซึ่งให้อำนาจกับธปท. ในการให้กู้ยืมเงินแก่สถาบันการเงินเป็นการชั่วคราว เพื่อให้สถาบันการเงินนำไปปล่อยกู้ต่อในอัตราดอกเบี้ยต่ำแก่ผู้ที่ได้รับความเสียหายจากมหาอุทกภัยที่เกิดขึ้นใน ปีพ.ศ. 2554 ที่มีความจำเป็นต้องได้รับความช่วยเหลือทางการเงินเป็นพิเศษ ซึ่งมีส่วนในการช่วยฟื้นฟูเศรษฐกิจของประเทศและสร้างเสถียรภาพให้แก่เศรษฐกิจโดยรวม

นอกจากนี้ ยังมีกฎเกณฑ์หรือมาตรการอื่นๆ ที่ออกโดยธปท. เองหรือโดยหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ซึ่งสามารถตรวจสอบได้จากแหล่งข้อมูลต่อไปนี้

- ประกาศ/หนังสือเวียน ธปท.​

- สำนักงานคณะกรรมการกฤษฏีกา​

- สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์​

- สำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค

- คณะกรรมการคุ้มครองข้อมูลเครดิต​​​​











ธนาคารแห่งประเทศไทยมีขอบข่ายของภารกิจและความรับผิดชอบที่ครอบคลุมอย่างกว้างขวาง ทั้งในด้านของการรักษาเสถียรภาพเศรษฐกิจ ระบบการเงิน ระบบการชำระเงิน การซื้อขายเงินตราต่างประเทศ รวมถึงการกำกับดูแลสถาบันการเงิน การจะทำหน้าที่ในแต่ละด้านให้เกิดประสิทธิผลนั้นจำเป็นต้องมีการตรากฎหมายพิเศษเฉพาะขึ้นมาเพื่อรองรับการปฏิบัติหน้าที่ในด้านต่างๆ ทั้งในส่วนที่อยู่ในความรับผิดชอบของธปท. โดยตรง และส่วนที่ธปท. เข้าไปมีส่วนเกี่ยวข้องด้วย ยกตัวอย่างเช่น

พ.ร.บ. ธนาคารแห่งประเทศไทย ซึ่งกำหนดวัตถุประสงค์ ขอบเขตการทำงาน และโครงสร้างของธปท. เพื่อให้การดำเนินงานของธปท. เป็นไปตามมาตรฐานสากลของธนาคารกลาง 

พ.ร.บ. เงินตรา ซึ่งกำหนดบทบาทในส่วนของการบริหารเงินสำรองระหว่างประเทศ การรักษาไว้ซึ่งทุนสำรองเงินตราตามกฎหมาย เพื่อดำรงเสถียรภาพและความน่าเชื่อถือของค่าเงินบาท ซึ่งรวมไปถึงการออกแบบ จัดพิมพ์ธนบัตร และบริหารจัดการธนบัตร เพื่อให้ประชาชนมีธนบัตรอยู่ในสภาพดีใช้อย่างเพียงพอ และเหมาะสมกับสภาวะเศรษฐกิจ 

พ.ร.บ.ควบคุมการแลกเปลี่ยนเงิน ซึ่งกำหนดบทบาทในด้านของการดูแลการแลกเปลี่ยนเงินหรือการดำเนินการอื่นใดซึ่งมีเงินตราต่างประเทศเข้ามาเกี่ยวข้องในทุกรูปแบบ

พ.ร.บ.ธุรกิจสถาบันการเงิน ซึ่งให้อำนาจธปท. ในการกำกับดูแลให้สถาบันการเงินมีความสามารถในการบริหารความเสี่ยง รวมถึงการกำหนดกฎเกณฑ์ที่จะกำกับให้กรรมการ ผู้บริหารและพนักงานของสถาบันการเงินปฏิบัติหน้าที่อย่างมีธรรมาภิบาล และไม่ให้เกิดความเสียหายกับเงินฝากของประชาชน

พ.ร.บ.สถาบันคุ้มครองเงินฝาก ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อคุ้มครองเงินฝากของผู้ฝากเงินในสถาบันการเงิน โดยเรียกเก็บเงินจากสถาบันการเงินเข้ามาสะสมไว้ในกองทุนคุ้มครองเงินฝาก เพื่อจ่ายคืนผู้ฝากเงินในกรณีที่สถาบันการเงินประสบปัญหาและถูกเพิกถอนใบอนุญาต 

พ.ร.บ.การประกอบธุรกิจข้อมูลเครดิต ซึ่งช่วยให้สถาบันการเงินสามารถเข้าถึงข้อมูลฐานะการเงินและประวัติการชำระหนี้ของลูกค้า เพื่อให้ทราบว่าลูกค้ามีภาระหนี้อยู่กับสถาบันการเงินอื่นมากน้อยเพียงใด ซึ่งจะทำให้สถาบันการเงินสามารถประเมินความเสี่ยงทางการเงินของลูกค้าได้อย่างถูกต้องแม่นยำมากขึ้น ซึ่งนอกจากจะช่วยลดปัญหาหนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้จากการปล่อยสินเชื่อใหม่ ยังช่วยเสริมสร้างความมั่นคงให้กับสถาบันการเงินและระบบสถาบันการเงินโดยรวม

​พ.ร.ก. การให้ความช่วยเหลือทางการเงินแก่ผู้ที่ได้รับความเสียหายจากอุทกภัย พ.ศ. 2555 ซึ่งให้อำนาจกับธปท. ในการให้กู้ยืมเงินแก่สถาบันการเงินเป็นการชั่วคราว เพื่อให้สถาบันการเงินนำไปปล่อยกู้ต่อในอัตราดอกเบี้ยต่ำแก่ผู้ที่ได้รับความเสียหายจากมหาอุทกภัยที่เกิดขึ้นใน ปีพ.ศ. 2554 ที่มีความจำเป็นต้องได้รับความช่วยเหลือทางการเงินเป็นพิเศษ ซึ่งมีส่วนในการช่วยฟื้นฟูเศรษฐกิจของประเทศและสร้างเสถียรภาพให้แก่เศรษฐกิจโดยรวม

​​

Share
Tweet
Share
Tweet
เกี่ยวกับ ธปท.
  • บทบาทหน้าที่และประวัติ
  • การกำกับดูแลกิจการที่ดี
  • ธปท. กับบทบาทการพัฒนาอย่างยั่งยืน
  • ความร่วมมือระหว่างประเทศ
  • กฎหมาย/กฎเกณฑ์
  • ผังโครงสร้างองค์กร
  • คณะกรรมการ
  • รายงานทางการเงิน
  • รายงานประจำปี ธปท.
  • ธนบัตร
  • มูลนิธิ 50 ปี ธปท.
  • สมัครงานและทุน
  • พิพิธภัณฑ์และแหล่งเรียนรู้
  • ศคง. 1213
  • งานและกิจกรรม
นโยบายการเงิน
  • คณะกรรมการ กนง.
  • เป้าหมายของนโยบายการเงิน
  • กำหนดการประชุม
  • ผลการประชุม กนง.
  • เอกสารเผยแพร่ของ กนง.
  • ความรู้เรื่องนโยบายการเงิน
  • ภาวะเศรษฐกิจไทย
  • เศรษฐกิจภูมิภาค
  • งานวิจัยและสัมมนาวิชาการ
สถาบันการเงิน
  • คณะกรรมการ กนส.
  • โครงสร้างระบบ สง. ไทย
  • บทบาทของ ธปท. ด้าน สง.
  • การกำหนดนโยบาย สง.
  • การกำกับตรวจสอบ สง.
  • ความร่วมมือกับผู้กำกับดูแลอื่น
  • ธุรกิจการเงินที่ ธปท. กำกับดูแล​​​​
  • มุมสถาบันการเงิน
  • การธนาคารเพื่อความยั่งยืน
  • โครงการพัฒนา Digital Factoring Ecosystem
  • โครงการ API Standard
ตลาดการเงิน
  • การดำเนินนโยบายการเงิน
  • การบริหารเงินสำรอง
  • การพัฒนาตลาดการเงิน
  • ตลาดเงินตราต่างประเทศ
  • หลักเกณฑ์การแลกเปลี่ยนเงิน
  • การลงทุนโดยตรง ตปท.
  • อัตราดอกเบี้ยอ้างอิงและแนวทางรองรับการยุติการใช้ LIBOR
  • โครงการลงทะเบียนแสดงตัวตนของผู้ลงทุนตราสารหนี้ในประเทศไทย (BIR)
ระบบการชำระเงิน
  • คณะกรรมการ กรช.
  • นโยบายการชำระเงิน
  • การกำกับดูแลระบบการชำระเงิน
  • การกำกับตาม พ.ร.บ. ระบบการชำระเงิน 2560
  • บริการระบบการชำระเงิน
  • แนวนโยบาย/แนวปฏิบัติ /มาตรฐานระบบการชำระเงิน
  • ระเบียบ/ประกาศระบบการชำระเงิน
  • เทคโนโลยีทางการเงิน
  • การชำระเงินกับต่างประเทศ
สถิติ
  • สถิติตลาดการเงิน
  • สถิติเศรษฐกิจการเงิน
  • สถิติสถาบันการเงิน
  • สถิติระบบการชำระเงิน
  • สถิติเศรษฐกิจการเงินภูมิภาค
  • เครื่องชี้ภาวะเศรษฐกิจสำคัญ
  • แผนภูมิข้อมูลเศรษฐกิจสำคัญ
  • การรับส่งข้อมูลกับ ธปท.
  • บทความและเอกสารเผยแพร่ด้านสถิติ
  • คู่มือประชาชนด้านสถิติ
  • บริการข้อมูล BOT API
ตารางเวลาเผยแพร่
เงื่อนไขการให้บริการ
นโยบายคุ้มครอง
ข้อมูลส่วนบุคคล
เชื่อมโยง
คำถามถามบ่อย
ติดต่อ ธปท.

©2015 Bank of Thailand. All rights reserved.   ( เว็บไซต์นี้รับชมได้ดี ด้วยเว็บเบราว์เซอร์ Chrome, Safari, Firefox หรือ IE 10 ขึ้นไป )
สอบถาม/ข้อเสนอแนะ/ร้องเรียน
ลงทะเบียนรับข้อมูล/ข่าวสาร

©2015 Bank of Thailand. All rights reserved.