• EN
    • EN
  • เกี่ยวกับ ธปท.
    • บทบาทหน้าที่และประวัติ
    • การกำกับดูแลกิจการที่ดี
    • ธปท. กับบทบาทการพัฒนาอย่างยั่งยืน
    • ความร่วมมือระหว่างประเทศ
    • กฎหมาย/กฎเกณฑ์
    • ผังโครงสร้างองค์กร
    • คณะกรรมการ
    • รายงานทางการเงิน
    • รายงานประจำปี ธปท.
    • ธนบัตร
    • มูลนิธิ 50 ปี ธปท.
    • สมัครงานและทุน
    • พิพิธภัณฑ์และแหล่งเรียนรู้
    • ศคง. 1213
    • งานและกิจกรรม
  • นโยบายการเงิน
    • คณะกรรมการ กนง.
    • เป้าหมายของนโยบายการเงิน
    • กำหนดการประชุม
    • ผลการประชุม กนง.
    • เอกสารเผยแพร่ของ กนง.
    • ความรู้เรื่องนโยบายการเงิน
    • ภาวะเศรษฐกิจไทย
    • เศรษฐกิจภูมิภาค
    • งานวิจัยและสัมมนาวิชาการ
  • สถาบันการเงิน
    • คณะกรรมการ กนส.
    • โครงสร้างระบบ สง. ไทย
    • บทบาทของ ธปท. ด้าน สง.
    • การกำหนดนโยบาย สง.
    • การกำกับตรวจสอบ สง.
    • ความร่วมมือกับผู้กำกับดูแลอื่น
    • ธุรกิจการเงินที่ ธปท. กำกับดูแล​​​​
    • มุมสถาบันการเงิน
    • การธนาคารเพื่อความยั่งยืน
    • โครงการพัฒนา Digital Factoring Ecosystem
    • โครงการ API Standard
  • ตลาดการเงิน
    • การดำเนินนโยบายการเงิน
    • การบริหารเงินสำรอง
    • การพัฒนาตลาดการเงิน
    • ตลาดเงินตราต่างประเทศ
    • หลักเกณฑ์การแลกเปลี่ยนเงิน
    • การลงทุนโดยตรง ตปท.
    • อัตราดอกเบี้ยอ้างอิงและแนวทางรองรับการยุติการใช้ LIBOR
    • โครงการลงทะเบียนแสดงตัวตนของผู้ลงทุนตราสารหนี้ในประเทศไทย (BIR)
  • ระบบการชำระเงิน
    • คณะกรรมการ กรช.
    • นโยบายการชำระเงิน
    • การกำกับดูแลระบบการชำระเงิน
    • การกำกับตาม พ.ร.บ. ระบบการชำระเงิน 2560
    • บริการระบบการชำระเงิน
    • แนวนโยบาย/แนวปฏิบัติ /มาตรฐานระบบการชำระเงิน
    • ระเบียบ/ประกาศระบบการชำระเงิน
    • เทคโนโลยีทางการเงิน
    • การกำกับและตรวจสอบความเสี่ยงด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
    • การชำระเงินกับต่างประเทศ
  • วิจัยและสัมมนา
    • งานวิจัย
    • งานสัมมนา
    • สถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย ​อึ๊งภากรณ์
  • สถิติ
    • สถิติตลาดการเงิน
    • สถิติเศรษฐกิจการเงิน
    • สถิติสถาบันการเงิน
    • สถิติระบบการชำระเงิน
    • สถิติเศรษฐกิจการเงินภูมิภาค
    • เครื่องชี้ภาวะเศรษฐกิจสำคัญ
    • แผนภูมิข้อมูลเศรษฐกิจสำคัญ
    • การรับส่งข้อมูลกับ ธปท.
    • บทความและเอกสารเผยแพร่ด้านสถิติ
    • คู่มือประชาชนด้านสถิติ
    • บริการข้อมูล BOT API

  • หน้าหลัก
  • > แหล่งความรู้ทางการเงิน
  • > เรื่องน่ารู้
แหล่งความรู้ทางการเงิน
แหล่งความรู้ทางการเงิน
  • เรื่องน่ารู้
  • อินโฟกราฟิก
    • เศรษฐกิจและนโยบายการเงิน
    • อัตราแลกเปลี่ยน
    • ระบบการชำระเงินและฟินเทค
    • ธนบัตร
    • สถาบันการเงิน
    • ความรู้ทางการเงิน
    • ภัยทางการเงิน
    • Stat Echo : ข้อมูลด้านสถิติ
  • คลิปวิดีโอ
    • เศรษฐกิจและนโยบายการเงิน
    • อัตราแลกเปลี่ยน
    • ระบบการชำระเงินและฟินเทค
    • ธนบัตร
    • สถาบันการเงิน
    • ความรู้ทางการเงิน
    • อื่น ๆ
  • คลิปเสียง
  • เตือนภัยทางการเงิน
​6 เรื่องต้องรู้.. การเปลี่ยนบัตร ATM/บัตรเดบิตเป็นชิปการ์ด

​chipcard_cover1.jpg

ที่ผ่านมา ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) สมาคมธนาคารไทย และสถาบันการเงิน ได้ร่วมกันผลักดันให้มีการปรับเปลี่ยนบัตร ATM และบัตรเดบิตจากรูปแบบบัตรแถบแม่เหล็กแบบเดิมให้เป็นบัตรแบบชิปการ์ดมาอย่างต่อเนื่อง เพื่อยกระดับความปลอดภัยในการใช้บัตร อย่างไรก็ดี หลายท่านอาจจะยังมีข้อสงสัยต่าง ๆ เกี่ยวกับการเปลี่ยนบัตร ATM และบัตรเดบิตให้เป็นแบบชิปการ์ด ซึ่งสามารถหาคำตอบได้ในบทความนี้

​1. ทำไมต้องเปลี่ยนบัตร ATM/บัตรเดบิตจากบัตรแถบแม่เหล็กเป็นแบบชิปการ์ด/_catalogs/masterpage/img/expand.png

สาเหตุที่ต้องเปลี่ยนบัตรจากบัตรแถบแม่เหล็กมาเป็นแบบชิปการ์ดเพื่อเพิ่มความปลอดภัยในการใช้บัตร เนื่องจากเทคโนโลยีชิปการ์ดเป็นเทคโนโลยีที่มีความปลอดภัยสูง สามารถป้องกันการถูกมิจฉาชีพโจรกรรมข้อมูลไปทำบัตรปลอม (skimming) โดยที่ผ่านมา ธปท. สมาคมธนาคารไทย และสถาบันการเงิน ได้ร่วมกันผลักดันให้ประชาชนเปลี่ยนไปใช้บัตร ATM/บัตรเดบิตจากบัตรแถบแม่เหล็กเป็นบัตรแบบชิปการ์ดตั้งแต่ปี 2559 และมีเป้าหมายที่จะเปลี่ยนบัตรทั้งหมดเป็นชิปการ์ดให้ครบถ้วนภายในสิ้นปี 2562 เพื่อยกระดับความปลอดภัยของประชาชนในการทำธุรกรรมผ่านบัตร ATM/บัตรเดบิต

2. จะรู้ได้อย่างไรว่าบัตรที่ถืออยู่เป็นบัตรแบบไหน/_catalogs/masterpage/img/collapse.png
​

ผู้ถือบัตรทั้งบัตร ATM และบัตรเดบิตสามารถสังเกตได้ง่าย ๆ ว่าบัตรที่มีอยู่เป็นบัตรแบบชิปการ์ดแล้วหรือไม่ จากด้านหน้าของบัตร หากมีชิปสี่เหลี่ยมขนาดเล็กอยู่ แสดงว่าบัตรที่คุณถือในมือเป็นบัตรแบบชิปการ์ดอยู่แล้ว ไม่จำเป็นต้องไปเปลี่ยนอีก แต่หากไม่มีชิปอยู่ตรงด้านหน้าบัตร แสดงว่าเป็นบัตรแถบแม่เหล็กแบบเก่า ซึ่งจำเป็นที่จะต้องเปลี่ยนให้เป็นบัตรแบบชิปการ์ดเพื่อความปลอดภัยในการใช้บัตร

3. การเปลี่ยนบัตรจากบัตรแถบแม่เหล็กเป็นชิปการ์ดต้องเสียค่าธรรมเนียมหรือไม่/_catalogs/masterpage/img/collapse.png
​
เปลี่ยนบัตรชิปการ์ด ฟรีค่าธรรมเนียมการเปลี่ยนบัตร

ธนาคารจะยกเว้นค่าธรรมเนียมการออกบัตรทดแทนสำหรับการเปลี่ยนบัตร ATM/บัตรเดบิตจากบัตรแถบแม่เหล็กเป็นบัตรแบบชิปการ์ดจนถึงวันที่ 15 มกราคม 2563 ในกรณีที่เปลี่ยนเป็นบัตรประเภทเดิม
เช่น หากเดิมใช้บัตรเดบิตแถบแม่เหล็กซึ่งเป็นบัตรเดบิตธรรมดาที่ไม่มีประกันคุ้มครองเพิ่มเติม เมื่อไปเปลี่ยนเป็นบัตรเดบิตแบบชิปการ์ดประเภทเดียวกันนี้จะไม่เสียค่าธรรมเนียมการออกบัตรทดแทน แต่หากเปลี่ยนประเภทบัตรใหม่ เช่น เปลี่ยนเป็นบัตรเดบิตแบบชิปการ์ดที่มีประกันคุ้มครอง บางธนาคารอาจคิดค่าธรรมเนียมแรกเข้าของบัตรใบใหม่

นอกจากนี้ โดยทั่วไปธนาคารต่าง ๆ จะมีการคิดค่าธรรมเนียมรายปีของบัตร ATM/บัตรเดบิตล่วงหน้าอยู่แล้ว เมื่อลูกค้าไปเปลี่ยนเป็นบัตรแบบชิปการ์ด บางธนาคารจึงเก็บค่าธรรมเนียมล่วงหน้ารายปีของบัตรใบใหม่ทันที โดยจะคืนค่าธรรมเนียมรายปีของบัตรใบเดิมตามจำนวนวันใช้งานที่เหลือของบัตรใบเดิม ซึ่งค่าธรรมเนียมในส่วนนี้เป็นค่าธรรมเนียมรายปีที่ผู้ถือบัตรจ่ายเป็นปกติอยู่แล้ว ไม่ใช่ค่าธรรมเนียมการเปลี่ยนเป็นบัตรแบบชิปการ์ดแต่อย่างใด

ทั้งนี้ สามารถศึกษารายละเอียดค่าธรรมเนียมบัตร ATM/บัตรเดบิตได้ที่เว็บไซต์ของธนาคาร หรือสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ call center ของธนาคารที่ท่านใช้บริการ รวมถึงสามารถเปรียบเทียบข้อมูลค่าธรรมเนียมบัตร ATM/บัตรเดบิตของแต่ละธนาคารที่เว็บไซต์ของศูนย์คุ้มครองผู้ใช้บริการทางการเงิน

4. การเปลี่ยนบัตร ATM/บัตรเดบิตเป็นชิปการ์ดต้องทำอย่างไร และเตรียมอะไรไปบ้าง/_catalogs/masterpage/img/collapse.png
​
ผู้ถือบัตรแบบแถบแม่เหล็ก หากต้องการเปลี่ยนเป็นบัตรแบบชิปการ์ด สามารถนำบัตรประชาชน บัตร ATM/บัตรเดบิตใบเดิม และสมุดบัญชีธนาคารไปขอเปลี่ยนที่สาขาของธนาคารที่ใช้บริการได้ทุกสาขา ไม่จำเป็นต้องเป็นสาขาที่ออกบัตร

5. ต้องเปลี่ยนบัตร ATM/บัตรเดบิตเป็นชิปการ์ดภายในวันไหน /_catalogs/masterpage/img/collapse.png

​ผู้ถือบัตรแบบแถบแม่เหล็กจะต้องเปลี่ยนเป็นบัตรแบบชิปการ์ดภายในวันที่ 15 มกราคม 2563 ก่อนที่บัตรแถบแม่เหล็กจะไม่สามารถใช้งานได้

6. หากไม่ได้เปลี่ยนบัตรภายใน 15 มกราคม 2563 จะเกิดอะไรขึ้น/_catalogs/masterpage/img/collapse.png
​
หลังจากวันที่ 15 มกราคม 2563 บัตรแถบแม่เหล็กจะไม่สามารถใช้งานได้ที่ตู้ ATM หรือเครื่องรูดบัตรที่ร้านค้าต่าง ๆ หากมีความต้องการใช้เงินสดหรือโอนเงิน สามารถถอนเงินสดได้ที่สาขาธนาคาร หรือใช้ฟังก์ชั่นกดเงินแบบไม่ใช้บัตรที่ตู้ ATM (กดเงินสดผ่าน mobile application) หรือโอนเงินผ่าน mobile banking/ internet banking แทนการใช้บัตร 

​เอกสารที่เกี่ยวข้อง

- ข่าว ธปท. เรื่อง การเปลี่ยนบัตรเดบิตและบัตรเอทีเอ็มเป็นบัตรแบบชิปการ์ด

Share
Tweet
Share
Tweet
เกี่ยวกับ ธปท.
  • บทบาทหน้าที่และประวัติ
  • การกำกับดูแลกิจการที่ดี
  • ธปท. กับบทบาทการพัฒนาอย่างยั่งยืน
  • ความร่วมมือระหว่างประเทศ
  • กฎหมาย/กฎเกณฑ์
  • ผังโครงสร้างองค์กร
  • คณะกรรมการ
  • รายงานทางการเงิน
  • รายงานประจำปี ธปท.
  • ธนบัตร
  • มูลนิธิ 50 ปี ธปท.
  • สมัครงานและทุน
  • พิพิธภัณฑ์และแหล่งเรียนรู้
  • ศคง. 1213
  • งานและกิจกรรม
นโยบายการเงิน
  • คณะกรรมการ กนง.
  • เป้าหมายของนโยบายการเงิน
  • กำหนดการประชุม
  • ผลการประชุม กนง.
  • เอกสารเผยแพร่ของ กนง.
  • ความรู้เรื่องนโยบายการเงิน
  • ภาวะเศรษฐกิจไทย
  • เศรษฐกิจภูมิภาค
  • งานวิจัยและสัมมนาวิชาการ
สถาบันการเงิน
  • คณะกรรมการ กนส.
  • โครงสร้างระบบ สง. ไทย
  • บทบาทของ ธปท. ด้าน สง.
  • การกำหนดนโยบาย สง.
  • การกำกับตรวจสอบ สง.
  • ความร่วมมือกับผู้กำกับดูแลอื่น
  • ธุรกิจการเงินที่ ธปท. กำกับดูแล​​​​
  • มุมสถาบันการเงิน
  • การธนาคารเพื่อความยั่งยืน
  • โครงการพัฒนา Digital Factoring Ecosystem
  • โครงการ API Standard
ตลาดการเงิน
  • การดำเนินนโยบายการเงิน
  • การบริหารเงินสำรอง
  • การพัฒนาตลาดการเงิน
  • ตลาดเงินตราต่างประเทศ
  • หลักเกณฑ์การแลกเปลี่ยนเงิน
  • การลงทุนโดยตรง ตปท.
  • อัตราดอกเบี้ยอ้างอิงและแนวทางรองรับการยุติการใช้ LIBOR
  • โครงการลงทะเบียนแสดงตัวตนของผู้ลงทุนตราสารหนี้ในประเทศไทย (BIR)
ระบบการชำระเงิน
  • คณะกรรมการ กรช.
  • นโยบายการชำระเงิน
  • การกำกับดูแลระบบการชำระเงิน
  • การกำกับตาม พ.ร.บ. ระบบการชำระเงิน 2560
  • บริการระบบการชำระเงิน
  • แนวนโยบาย/แนวปฏิบัติ /มาตรฐานระบบการชำระเงิน
  • ระเบียบ/ประกาศระบบการชำระเงิน
  • เทคโนโลยีทางการเงิน
  • การกำกับและตรวจสอบความเสี่ยงด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
  • การชำระเงินกับต่างประเทศ
สถิติ
  • สถิติตลาดการเงิน
  • สถิติเศรษฐกิจการเงิน
  • สถิติสถาบันการเงิน
  • สถิติระบบการชำระเงิน
  • สถิติเศรษฐกิจการเงินภูมิภาค
  • เครื่องชี้ภาวะเศรษฐกิจสำคัญ
  • แผนภูมิข้อมูลเศรษฐกิจสำคัญ
  • การรับส่งข้อมูลกับ ธปท.
  • บทความและเอกสารเผยแพร่ด้านสถิติ
  • คู่มือประชาชนด้านสถิติ
  • บริการข้อมูล BOT API
ตารางเวลาเผยแพร่
เงื่อนไขการให้บริการ
นโยบายคุ้มครอง
ข้อมูลส่วนบุคคล
เชื่อมโยง
คำถามถามบ่อย
ติดต่อ ธปท.

©2015 Bank of Thailand. All rights reserved.   ( เว็บไซต์นี้รับชมได้ดี ด้วยเว็บเบราว์เซอร์ Chrome, Safari, Firefox หรือ IE 10 ขึ้นไป )
สอบถาม/ข้อเสนอแนะ/ร้องเรียน
ลงทะเบียนรับข้อมูล/ข่าวสาร


©2015 Bank of Thailand. All rights reserved.