• EN
    • EN
  • เกี่ยวกับ ธปท.
    • บทบาทหน้าที่และประวัติ
    • การกำกับดูแลกิจการที่ดี
    • ธปท. กับบทบาทการพัฒนาอย่างยั่งยืน
    • ความร่วมมือระหว่างประเทศ
    • กฎหมาย/กฎเกณฑ์
    • ผังโครงสร้างองค์กร
    • คณะกรรมการ
    • รายงานทางการเงิน
    • รายงานประจำปี ธปท.
    • ธนบัตร
    • มูลนิธิ 50 ปี ธปท.
    • สมัครงานและทุน
    • พิพิธภัณฑ์และแหล่งเรียนรู้
    • ศคง. 1213
    • งานและกิจกรรม
  • นโยบายการเงิน
    • คณะกรรมการ กนง.
    • เป้าหมายของนโยบายการเงิน
    • กำหนดการประชุม
    • ผลการประชุม กนง.
    • เอกสารเผยแพร่ของ กนง.
    • ความรู้เรื่องนโยบายการเงิน
    • ภาวะเศรษฐกิจไทย
    • เศรษฐกิจภูมิภาค
    • งานวิจัยและสัมมนาวิชาการ
  • สถาบันการเงิน
    • คณะกรรมการ กนส.
    • โครงสร้างระบบ สง. ไทย
    • บทบาทของ ธปท. ด้าน สง.
    • การกำหนดนโยบาย สง.
    • การกำกับตรวจสอบ สง.
    • ความร่วมมือกับผู้กำกับดูแลอื่น
    • ธุรกิจการเงินที่ ธปท. กำกับดูแล​​​​
    • มุมสถาบันการเงิน
    • การธนาคารเพื่อความยั่งยืน
    • โครงการพัฒนา Digital Factoring Ecosystem
    • โครงการ API Standard
  • ตลาดการเงิน
    • การดำเนินนโยบายการเงิน
    • การบริหารเงินสำรอง
    • การพัฒนาตลาดการเงิน
    • ตลาดเงินตราต่างประเทศ
    • หลักเกณฑ์การแลกเปลี่ยนเงิน
    • การลงทุนโดยตรง ตปท.
    • อัตราดอกเบี้ยอ้างอิงและแนวทางรองรับการยุติการใช้ LIBOR
    • โครงการลงทะเบียนแสดงตัวตนของผู้ลงทุนตราสารหนี้ในประเทศไทย (BIR)
  • ระบบการชำระเงิน
    • คณะกรรมการ กรช.
    • นโยบายการชำระเงิน
    • การกำกับดูแลระบบการชำระเงิน
    • การกำกับตาม พ.ร.บ. ระบบการชำระเงิน 2560
    • บริการระบบการชำระเงิน
    • แนวนโยบาย/แนวปฏิบัติ /มาตรฐานระบบการชำระเงิน
    • ระเบียบ/ประกาศระบบการชำระเงิน
    • เทคโนโลยีทางการเงิน
    • การชำระเงินกับต่างประเทศ
  • วิจัยและสัมมนา
    • งานวิจัย
    • งานสัมมนา
    • สถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย ​อึ๊งภากรณ์
  • สถิติ
    • สถิติตลาดการเงิน
    • สถิติเศรษฐกิจการเงิน
    • สถิติสถาบันการเงิน
    • สถิติระบบการชำระเงิน
    • สถิติเศรษฐกิจการเงินภูมิภาค
    • เครื่องชี้ภาวะเศรษฐกิจสำคัญ
    • แผนภูมิข้อมูลเศรษฐกิจสำคัญ
    • การรับส่งข้อมูลกับ ธปท.
    • บทความและเอกสารเผยแพร่ด้านสถิติ
    • คู่มือประชาชนด้านสถิติ
    • บริการข้อมูล BOT API

  • หน้าหลัก
  • > สถาบันการเงิน
  • > มาตรการช่วยเหลือลูกหนี้และข้อมูลสถาบันการเงินในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อ COVID-19
สถาบันการเงิน
สถาบันการเงิน
  • คณะกรรมการ กนส.
  • โครงสร้างระบบ สง. ไทย
  • บทบาทของ ธปท.
    ด้าน สง.
  • การกำหนดนโยบาย สง.
  • การกำกับตรวจสอบ สง.
  • ความร่วมมือกับผู้กำกับดูแลอื่น
  • ธุรกิจการเงินที่ ธปท. กำกับดูแล​​​​
  • มุมสถาบันการเงิน
  • เอกสารเผยแพร่
  • การธนาคารเพื่อความยั่งยืน
  • โครงการพัฒนา Digital Factoring Ecosystem
  • โครงการ API Standard

​มาตรการทางการเงินช่วยเหลือฟื้นฟูผู้ประกอบธุรกิจ

ที่ได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส COVID-19


เศรษฐกิจไทยเผชิญความท้าทายจากการระบาดของ COVID-19 นับตั้งแต่ปี 2563 โดยมีแนวโน้มยืดเยื้อและมีความไม่แน่นอนสูง ทำให้ภาคธุรกิจเข้าถึงสินเชื่อได้ยากขึ้น การให้ความช่วยเหลือเยียวยา ผ่าน "มาตรการสินเชื่อดอกเบี้ยต่ำ (Soft Loan)" ที่มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 19 เมษายน 2563 จึงยังไม่เพียงพอรองรับสถานการณ์ที่ยาวนานกว่าที่คาดไว้  ธปท. และกระทรวงการคลัง เห็นความจำเป็นเร่งด่วนในการออกมาตรการสินเชื่อฟื้นฟูเพิ่มเติม วงเงินรวม 350,000 ล้านบาท ประกอบด้วย 2 มาตรการหลักได้แก่ 1.มาตรการสนับสนุนการให้สินเชื่อแก่ผู้ประกอบธุรกิจ (มาตรการสินเชื่อฟื้นฟู) วงเงิน 250,000 ล้านบาท และ 2.มาตรการสนับสนุนการรับโอนทรัพย์สินหลักประกันเพื่อชำระหนี้ โดยให้ผู้ประกอบธุรกิจมีสิทธิซื้อทรัพย์สินนั้นคืนในภายหลัง (มาตรการพักทรัพย์ พักหนี้) วงเงิน 100,000 ล้านบาท โดยการช่วยเหลือเยียวยาครั้งนี้ ดำเนินการภายใต้พระราชกำหนดการให้ความช่วยเหลือและฟื้นฟูผู้ประกอบธุรกิจที่ได้รับผลกระทบจากการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 พ.ศ. 2564

  • ติดตามความคืบหน้าของมาตรการฯ
  • “สมาคมธนาคารไทย” เดินหน้าช่วยลูกค้าทุกกลุ่ม ยกระดับแผน BCP แนะลูกค้าทำธุรกรรมผ่านช่องทางอิเล็กทรอนิกส์
  • ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมและตรวจสอบคุณสมบัติผู้มีสิทธิเข้าร่วม
  • คู่มือเรื่องที่ควรรู้เกี่ยวกับโครงการพักทรัพย์ พักหนี้ (Asset Warehousing)
  • คำถาม-คำตอบ : มาตรการสินเชื่อฟื้นฟู และ มาตรการโครงการพักทรัพย์ พักหนี้ (ฉบับเต็ม)
  • คำถาม-คำตอบ : มาตรการสินเชื่อฟื้นฟู และ มาตรการโครงการพักทรัพย์ พักหนี้ (สำหรับผู้ประกอบธุรกิจที่สนใจมาตรการฯ)


​การสัมมนา “ SMEs ไทยไปต่ออย่างไร...ด้วยกลไกความช่วยเหลือของ ธปท.- แบงก์รัฐ ” 

ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) ร่วมมือกับ สมาคมสถาบันการเงินของรัฐ (GFA) และสมาพันธ์เอสเอ็มอีไทย จัดการสัมมนาในหัวช้อ " SMEs ไทยไปต่ออย่างไร...ด้วยกลไกความช่วยเหลือของ ธปท.- แบงก์รัฐ " เมื่อวันจันทร์ที่ 19 กรกฎาคม 2564

Session 1: มาตรการพักทรัพย์ พักหนี้
โดย คุณสุวรรณี เจษฎาศักดิ์ ผู้อำนวยการอาวุโส ฝ่ายนโยบายและกำกับสถาบันการเงิน 2 ธนาคารแห่งประเทศไทย และ คุณเจนจิต เสวกวัฒโนภาส ผู้ช่วยผู้อำนวยการ สายงานบริหารหนี้ ธนาคารออมสิน

>> รายละเอียดเพิ่มเติม

Session 2: มาตรการสินเชื่อฟื้นฟู
โดย คุณอานุภาพ คูวินิชกุล ผู้อำนวยการอาวุโส ฝ่ายตรวจสอบ 2 ธนาคารแห่งประเทศไทย และ คุณวิทวัส ปัญญาแหลม ผู้อำนวยการอาวุโส ฝ่ายการตลาดวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย

>> รายละเอียดเพิ่มเติม

Session 3: สินเชื่อเพื่อเสริมสภาพคล่องของสถาบันการเงินของรัฐ
โดย ทีมวิทยากร ตัวแทนจากสถาบันการเงินของรัฐ 7 แห่ง

>> รายละเอียดเพิ่มเติม

Session 4: ทางรอดของ SMEs ในสถานการณ์โควิด-19
โดย คุณสุรชัย กำพลานนท์วัฒน์ ผู้อำนวยการศูนย์ที่ปรึกษาทางการเงิน SMEs จาก F.A. Center บรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดย่อม

>> รายละเอียดเพิ่มเติม

>> ชมคลิปการสัมมนาฉบับเต็ม

​การบรรยายมาตรการทางการเงินช่วยเหลือฟื้นฟูผู้ประกอบธุรกิจที่ได้รับผลกระทบจาก COVID-19

สมาคมธนาคารไทยร่วมมือกับ คณะกรรมการร่วมภาคเอกชน 3 สถาบัน (กกร.)  ธนาคารแห่งประเทศไทย  สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย  สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย  สภาผู้ส่งออกสินค้าทางเรือ  และสมาคมโรงแรมไทย จัดบรรยายมาตรการสินเชื่อฟื้นฟูและพักทรัพย์ พักหนี้ เพื่อช่วยเหลือฟื้นฟูภาคเศรษฐกิจ เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2564

ผยง ศรีวณิช
ประธาน กกร. และประธานสมาคมธนาคารไทย

highlight มาตรการสินเชื่อฟื้นฟู และมาตรการพักทรัพย์ พักหนี้ 
  
>> รายละเอียดเพิ่มเติม

จาตุรงค์ จันทรังษ์
ผู้ช่วยผู้ว่าการ สายกำกับสถาบันการเงิน 1 ธนาคารแห่งประเทศไทย

highlight มาตรการสินเชื่อฟื้นฟู และมาตรการพักทรัพย์ พักหนี้ 
  
>> รายละเอียดเพิ่มเติม

อานุภาพ คูวินิชกุล
ผู้อำนวยการอาวุโส ฝ่ายตรวจสอบ 2 ธนาคารแห่งประเทศไทย

highlight มาตรการสินเชื่อฟื้นฟู
  
>> รายละเอียดเพิ่มเติม

ชัยยศ ตันพิสุทธิ์
ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ ธนาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน)

highlight มาตรการสินเชื่อฟื้นฟู 
  
>> รายละเอียดเพิ่มเติม

สุวรรณี เจษฎาศักดิ์
ผู้อำนวยการอาวุโส ฝ่ายนโยบายและกำกับสถาบันการเงิน 2 ธนาคารแห่งประเทศไทย

highlight มาตรการพักทรัพย์ พักหนี้ 
  
>> รายละเอียดเพิ่มเติม

ธวัช ตรีวรรณกุล
รองผู้จัดการใหญ่ ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน)

highlight มาตรการพักทรัพย์ พักหนี้ 

>> รายละเอียดเพิ่มเติม

>> ชมคลิปรายละเอียดการบรรยายทั้งหมด 

คลิปแนะนำมาตรการฟื้นฟูของสถาบันการเงิน
ผยง ศรีวณิช
ประธานสมาคมธนาคารไทย

" สมาคมธนาคารไทยร่วมกับสมาชิกและธนาคารแห่งประเทศไทย ในการแบ่งเบาภาระลูกค้าธุรกิจให้สามารถก้าวผ่านช่วงท้าทายนี้ไปได้ ด้วย 2 มาตรการทั้งสินเชื่อฟื้นฟูและโครงการพักทรัพย์ พักหนี้ "

>> รายละเอียดเพิ่มเติม

ขัตติยา อินทรวิชัย
ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร
ธนาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน)

" ธนาคารกสิกรไทยพร้อมช่วยลูกค้าธุรกิจสู้วิกฤต COVID-19 ด้วย 2 มาตรการช่วยเหลือทั้งสินเชื่อฟื้นฟูและโครงการพักทรัพย์ พักหนี้ เพื่อเพิ่มสภาพคล่องให้ธุรกิจ  "
  
>> รายละเอียดเพิ่มเติม

ชาติศิริ โสภณพนิช
กรรมการผู้จัดการใหญ่
ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน)

" ธนาคารกรุงเทพร่วมสนับสนุนมาตรการ ธปท. เพื่อฟื้นฟูและประคองผู้ประกอบธุรกิจให้ผ่านช่วงที่ยากลำบากนี้ไปได้ ด้วย 2 มาตรการช่วยเหลือ ทั้งสินเชื่อฟื้นฟูและมาตรการพักทรัพย์ พักหนี้ "

>> รายละเอียดเพิ่มเติม

ปิติ ตัณฑเกษม
ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร
ธนาคารทหารไทยธนชาต จำกัด (มหาชน)

" ทีเอ็มบีธนชาต พร้อมช่วยเหลือลูกค้าธุรกิจภายใต้สถานการณ์โควิด 19 ด้วยมาตรกรช่วยเหลือ "สินเชื่อฟื้นฟู " และ "พักทรัพย์ พักหนี้" เพื่อเสริมสภาพคล่องและฟื้นฟูการประกอบธุรกิจ "

>>รายละเอียดเพิ่มเติม

ดร.รักษ์ วรกิจโภคาทร
กรรมการผู้จัดการ
ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย (EXIM BANK)

" EXIM BANK อยู่เคียงข้าง สนับสนุนผู้ประกอบทุกระดับ และไม่ทิ้งคนตัวเล็ก เราขอเป็นกำลังใจให้ทุกภาคส่วนก้าวผ่านวิกฤตนี้ไปด้วยกัน "

>> รายละเอียดเพิ่มเติม

พรสนอง ตู้จินดา
ประธานกลุ่มธุรกิจลูกค้าธุรกิจ
ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน)

" ธนาคารกรุงศรีอยุธยา พร้อมสนับสนุนการดำเนินมาตรการของธนาคารแห่งประเทศไทย เพื่อผู้ประกอบธุรกิจที่ได้รับผลกระทบจากโควิด 19  ทั้งสินเชื่อฟื้นฟูและโครงการพักทรัพย์ พักหนี้ "
  
>> รายละเอียดเพิ่มเติม

เอกชัย เตชะวิริยะกุล
รองกรรมการผู้จัดการใหญ่
ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน)

" ธนาคารกรุงไทยพร้อมเคียงข้างลูกค้าธุรกิจ ให้ผ่านพ้นวิกฤต COVID-19 ด้วย 2 มาตรการทั้งสินเชื่อฟื้นฟูและโครงการพักทรัพย์ พักหนี้ เพื่อเสริมสภาพคล่อง ประคองธุรกิจ และประคองการจ้างงาน "

>> รายละเอียดเพิ่มเติม

อภิพันธ์ เจริญอนุสรณ์
ผู้จัดการใหญ่
ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน)

" ธนาคารไทยพาณิชย์พร้อมช่วยเหลือผู้ประกอบธุรกิจเอสเอ็มอีไทยให้ก้าวผ่านวิกฤต ด้วยมาตรการสินเชื่อฟื้นฟูเพื่อเสริมสภาพคล่องแก่ลูกค้าธุรกิจให้สามารถพยุงธุรกิจได้ในระยะต่อไป "

>> รายละเอียดเพิ่มเติม

เอกสารที่เกี่ยวข้อง

​พระราชกำหนด : การให้ความช่วยเหลือและฟื้นฟูผู้ประกอบธุรกิจที่ได้รับผลกระทบจากการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 พ.ศ. 2564

​ข่าว ธปท. : ธปท. เผยสินเชื่อฟื้นฟูเป็นไปตามเป้า และยืนยันโครงการพักทรัพย์พักหนี้ยังเร่งเดินหน้า มีลูกหนี้ที่สถาบันการเงินอนุมัติแล้วและอยู่ระหว่างเจรจาอีกมาก ( 2 ก.ค. 64 )

​​Media Briefing : ความคืบหน้ามาตรการทางการเงินเพื่อช่วยเหลือฟื้นฟูภาคธุรกิจ ( 24 พ.ค. 64 )

​Media Briefing : มาตรการทางการเงินเพื่อช่วยเหลือฟื้นฟูภาคธุรกิจ ( 21 เม.ย. 64 )

ประกาศ ธปท. สกส1. 1/2564 : มาตรการสนับสนุนการให้สินเชื่อแก่ผู้ประกอบธุรกิจภายใต้พระราชกำหนดการให้ความช่วยเหลือและฟื้นฟูผู้ประกอบธุรกิจที่ได้รับผลกระทบจากการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ลงวันที่ 19 เมษายน 2564

​ประกาศ ธปท. สนส. 4/2564 : มาตรการสนับสนุนการรับโอนทรัพย์สินหลักประกันเพื่อชำระหนี้ ภายใต้พระราชกำหนดการให้ความช่วยเหลือและฟื้นฟูผู้ประกอบธุรกิจที่ได้รับผลกระทบจากการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 พ.ศ. 2564 เพื่อรองรับการถือปฏิบัติตามพระราชกำหนดดังกล่าว ลงวันที่ 19 เมษายน 2564

หนังสือเวียน : แนวปฏิบัติในการรับยกเว้นค่าธรรมเนียมในการดำเนินการตามมาตรการในพระราชกำหนดการให้ความช่วยเหลือและฟื้นฟูผู้ประกอบธุรกิจที่ได้รับผลกระทบจากการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 พ.ศ. 2564 ( 20 เม.ย. 64 )

ข่าว ธปท. : มาตรการทางการเงินเพิ่มเติมเพื่อช่วยเหลือฟื้นฟูผู้ประกอบธุรกิจที่ได้รับผลกระทบจากการระบาดของ COVID-19 ( 19 เม.ย. 64)

Media Briefing : ​มาตรการให้ความช่วยเหลือฟื้นฟูผู้ประกอบธุรกิจที่ได้รับผลกระทบจากการระบาดของโรคเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ( 23 มี.ค. 64)

ข่าวร่วม : ธปท. ร่วมกับกระทรวงการคลัง และภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง เสนอ 2 มาตรการใหม่เพื่อช่วยเหลือฟื้นฟูผู้ประกอบธุรกิจให้พร้อมรับมือกับโลกยุคหลัง COVID-19 ( 23 มี.ค. 64 )

Share
Tweet
Share
Tweet
เกี่ยวกับ ธปท.
  • บทบาทหน้าที่และประวัติ
  • การกำกับดูแลกิจการที่ดี
  • ธปท. กับบทบาทการพัฒนาอย่างยั่งยืน
  • ความร่วมมือระหว่างประเทศ
  • กฎหมาย/กฎเกณฑ์
  • ผังโครงสร้างองค์กร
  • คณะกรรมการ
  • รายงานทางการเงิน
  • รายงานประจำปี ธปท.
  • ธนบัตร
  • มูลนิธิ 50 ปี ธปท.
  • สมัครงานและทุน
  • พิพิธภัณฑ์และแหล่งเรียนรู้
  • ศคง. 1213
  • งานและกิจกรรม
นโยบายการเงิน
  • คณะกรรมการ กนง.
  • เป้าหมายของนโยบายการเงิน
  • กำหนดการประชุม
  • ผลการประชุม กนง.
  • เอกสารเผยแพร่ของ กนง.
  • ความรู้เรื่องนโยบายการเงิน
  • ภาวะเศรษฐกิจไทย
  • เศรษฐกิจภูมิภาค
  • งานวิจัยและสัมมนาวิชาการ
สถาบันการเงิน
  • คณะกรรมการ กนส.
  • โครงสร้างระบบ สง. ไทย
  • บทบาทของ ธปท. ด้าน สง.
  • การกำหนดนโยบาย สง.
  • การกำกับตรวจสอบ สง.
  • ความร่วมมือกับผู้กำกับดูแลอื่น
  • ธุรกิจการเงินที่ ธปท. กำกับดูแล​​​​
  • มุมสถาบันการเงิน
  • การธนาคารเพื่อความยั่งยืน
  • โครงการพัฒนา Digital Factoring Ecosystem
  • โครงการ API Standard
ตลาดการเงิน
  • การดำเนินนโยบายการเงิน
  • การบริหารเงินสำรอง
  • การพัฒนาตลาดการเงิน
  • ตลาดเงินตราต่างประเทศ
  • หลักเกณฑ์การแลกเปลี่ยนเงิน
  • การลงทุนโดยตรง ตปท.
  • อัตราดอกเบี้ยอ้างอิงและแนวทางรองรับการยุติการใช้ LIBOR
  • โครงการลงทะเบียนแสดงตัวตนของผู้ลงทุนตราสารหนี้ในประเทศไทย (BIR)
ระบบการชำระเงิน
  • คณะกรรมการ กรช.
  • นโยบายการชำระเงิน
  • การกำกับดูแลระบบการชำระเงิน
  • การกำกับตาม พ.ร.บ. ระบบการชำระเงิน 2560
  • บริการระบบการชำระเงิน
  • แนวนโยบาย/แนวปฏิบัติ /มาตรฐานระบบการชำระเงิน
  • ระเบียบ/ประกาศระบบการชำระเงิน
  • เทคโนโลยีทางการเงิน
  • การชำระเงินกับต่างประเทศ
สถิติ
  • สถิติตลาดการเงิน
  • สถิติเศรษฐกิจการเงิน
  • สถิติสถาบันการเงิน
  • สถิติระบบการชำระเงิน
  • สถิติเศรษฐกิจการเงินภูมิภาค
  • เครื่องชี้ภาวะเศรษฐกิจสำคัญ
  • แผนภูมิข้อมูลเศรษฐกิจสำคัญ
  • การรับส่งข้อมูลกับ ธปท.
  • บทความและเอกสารเผยแพร่ด้านสถิติ
  • คู่มือประชาชนด้านสถิติ
  • บริการข้อมูล BOT API
ตารางเวลาเผยแพร่
เงื่อนไขการให้บริการ
นโยบายคุ้มครอง
ข้อมูลส่วนบุคคล
เชื่อมโยง
คำถามถามบ่อย
ติดต่อ ธปท.

©2015 Bank of Thailand. All rights reserved.   ( เว็บไซต์นี้รับชมได้ดี ด้วยเว็บเบราว์เซอร์ Chrome, Safari, Firefox หรือ IE 10 ขึ้นไป )
สอบถาม/ข้อเสนอแนะ/ร้องเรียน
ลงทะเบียนรับข้อมูล/ข่าวสาร


©2015 Bank of Thailand. All rights reserved.