• EN
    • EN
  • เกี่ยวกับ ธปท.
    • บทบาทหน้าที่และประวัติ
    • การกำกับดูแลกิจการที่ดี
    • ธปท. กับบทบาทการพัฒนาอย่างยั่งยืน
    • ความร่วมมือระหว่างประเทศ
    • กฎหมาย/กฎเกณฑ์
    • ผังโครงสร้างองค์กร
    • คณะกรรมการ
    • รายงานทางการเงิน
    • รายงานประจำปี ธปท.
    • ธนบัตร
    • มูลนิธิ 50 ปี ธปท.
    • สมัครงานและทุน
    • พิพิธภัณฑ์และแหล่งเรียนรู้
    • ศคง. 1213
    • งานและกิจกรรม
  • นโยบายการเงิน
    • คณะกรรมการ กนง.
    • เป้าหมายของนโยบายการเงิน
    • กำหนดการประชุม
    • ผลการประชุม กนง.
    • เอกสารเผยแพร่ของ กนง.
    • ความรู้เรื่องนโยบายการเงิน
    • ภาวะเศรษฐกิจไทย
    • เศรษฐกิจภูมิภาค
    • งานวิจัยและสัมมนาวิชาการ
  • สถาบันการเงิน
    • คณะกรรมการ กนส.
    • โครงสร้างระบบ สง. ไทย
    • บทบาทของ ธปท. ด้าน สง.
    • การกำหนดนโยบาย สง.
    • การกำกับตรวจสอบ สง.
    • ความร่วมมือกับผู้กำกับดูแลอื่น
    • ธุรกิจการเงินที่ ธปท. กำกับดูแล​​​​
    • มุมสถาบันการเงิน
    • การธนาคารเพื่อความยั่งยืน
    • โครงการพัฒนา Digital Factoring Ecosystem
    • โครงการ API Standard
  • ตลาดการเงิน
    • การดำเนินนโยบายการเงิน
    • การบริหารเงินสำรอง
    • การพัฒนาตลาดการเงิน
    • ตลาดเงินตราต่างประเทศ
    • หลักเกณฑ์การแลกเปลี่ยนเงิน
    • การลงทุนโดยตรง ตปท.
    • อัตราดอกเบี้ยอ้างอิงและแนวทางรองรับการยุติการใช้ LIBOR
    • โครงการลงทะเบียนแสดงตัวตนของผู้ลงทุนตราสารหนี้ในประเทศไทย (BIR)
  • ระบบการชำระเงิน
    • คณะกรรมการ กรช.
    • นโยบายการชำระเงิน
    • การกำกับดูแลระบบการชำระเงิน
    • การกำกับตาม พ.ร.บ. ระบบการชำระเงิน 2560
    • บริการระบบการชำระเงิน
    • แนวนโยบาย/แนวปฏิบัติ /มาตรฐานระบบการชำระเงิน
    • ระเบียบ/ประกาศระบบการชำระเงิน
    • เทคโนโลยีทางการเงิน
    • การชำระเงินกับต่างประเทศ
  • วิจัยและสัมมนา
    • งานวิจัย
    • งานสัมมนา
    • สถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย ​อึ๊งภากรณ์
  • สถิติ
    • สถิติตลาดการเงิน
    • สถิติเศรษฐกิจการเงิน
    • สถิติสถาบันการเงิน
    • สถิติระบบการชำระเงิน
    • สถิติเศรษฐกิจการเงินภูมิภาค
    • เครื่องชี้ภาวะเศรษฐกิจสำคัญ
    • แผนภูมิข้อมูลเศรษฐกิจสำคัญ
    • การรับส่งข้อมูลกับ ธปท.
    • บทความและเอกสารเผยแพร่ด้านสถิติ
    • คู่มือประชาชนด้านสถิติ
    • บริการข้อมูล BOT API

  • หน้าหลัก
  • > สถาบันการเงิน
  • > เรื่องน่าสนใจ
สถาบันการเงิน
สถาบันการเงิน
  • คณะกรรมการ กนส.
  • โครงสร้างระบบ สง. ไทย
  • บทบาทของ ธปท.
    ด้าน สง.
  • การกำหนดนโยบาย สง.
  • การกำกับตรวจสอบ สง.
  • ความร่วมมือกับผู้กำกับดูแลอื่น
  • ธุรกิจการเงินที่ ธปท. กำกับดูแล​​​​
  • มุมสถาบันการเงิน
  • เอกสารเผยแพร่
  • การธนาคารเพื่อความยั่งยืน
  • โครงการพัฒนา Digital Factoring Ecosystem
  • โครงการ API Standard

      Basel III 

หลักเกณฑ์การกำกับดูแลสถาบันการเงิน ซึ่งครอบคลุมเรื่องการดำรงเงินกองทุนและการบริหารความเสี่ยงด้านสภาพคล่อง โดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อส่งเสริมให้สถาบันการเงินสามารถต้านทานภาวะวิกฤตในระบบการเงินและระบบเศรษฐกิจได้ดีขึ้น พร้อมทั้งลดการส่งต่อความเสี่ยงจากระบบการเงินไปยังภาคเศรษฐกิจจริงด้วย ซึ่งธปท. จะเริ่มทยอยบังคับใช้ ตั้งแต่ต้น ปี 2556 เป็นต้นไป

สื่อการเรียนรู้ E-Learning เรื่อง “หลักเกณฑ์การกำกับดูแลเงินกองทุนตาม Basel III" /_catalogs/masterpage/img/collapse.png
​
สื่อการเรียนรู้ตัวอย่าง
(เป็นตัวอย่างสั้นๆ 6 นาที) 

สื่ออการเรียนรู้ E-Learning

 

Slide การประชุมชี้แจง/_catalogs/masterpage/img/collapse.png

ปี 
 
Slide การประชุมชี้แจง ปี 2560

เอกสารประกอบการประชุมชี้แจงประกาศ ธปท. เรื่อง เอกสารประกอบการประชุมชี้แจงเรื่อง ร่างหลักเกณฑ์การดำรงอัตราส่วนแหล่งเงินและความต้องการแหล่งเงินที่มีความมั่นคง (Net Stable Funding Ratio: NSFR) ; (วันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2560)
ร่างหลักเกณฑ์การดำรงอัตราส่วนแหล่งเงินและความต้องการแหล่งเงินที่มีความมั่นคง (Net Stable Funding Ratio: NSFR)
บทความที่เกี่ยวข้อง/_catalogs/masterpage/img/collapse.png
บทความ Basel III : หลักเกณฑ์การกำกับดูแลสถาบันการเงิน ภายหลังวิกฤตการเงินโลก
บทความลงหนังสือพิมพ์ และวารสาร
• เล่าเรื่องจาก Basel 1 ถึง Basel 3 : มุมมองจาก Bird Eyes’ View (วารสารการเงินธนาคาร ฉบับเดือนสิงหาคม 2554)
• ทำไมถึงต้องมี Basel III (หนังสือพิมพ์ฐานเศรษฐกิจฉบับวันที่ 13-15 ตุลาคม 2554)
• Basel III (หนังสือพิมพ์ฐานเศรษฐกิจฉบับวันที่ 2-4 กุมภาพันธ์ 2555)
• ถอดรหัสเงินกองทุนตาม Basel 3 (หนังสือพิมพ์ฐานเศรษฐกิจฉบับวันที่ 29 - 31 มีนาคม 2555)
• Basel III ดูแลความเสี่ยงต่อระบบ (Systemic risk) อย่างไร (หนังสือพิมพ์ฐานเศรษฐกิจฉบับวันที่ 26 - 28 กรกฎาคม 2555)
• มาตรการดูแลสถาบันการเงินที่มีความสำคัญต่อระบบการเงินโลก (G-SIBs) (หนังสือพิมพ์ฐานเศรษฐกิจฉบับวันที่ 27 - 29 กันยายน 2555)
• ถอดรหัส CVA risk ก้าวย่างสำคัญของการบริหารความเสี่ยงด้านคู่สัญญา(หนังสือพิมพ์ฐานเศรษฐกิจฉบับวันที่ 24 - 26 เมษายน 2557)
• สภาพคล่องธนาคาร ความเสี่ยง และการบริหาร (หนังสือพิมพ์ฐานเศรษฐกิจฉบับวันที่ 7 – 9 สิงหาคม 2557)

 

การประเมินผลกระทบ Basel III (QIS)/_catalogs/masterpage/img/collapse.png

การจัดทำ QIS ปี  
 
ดาวน์โหลดแบบประเมิน QIS ปี 2558

ด้านสภาพคล่อง

ตามที่ ธปท. ได้ขอความร่วมมือ ธพ. ในการกรอกข้อมูล QIS เพื่อศึกษาผลกระทบของหลักเกณฑ์ BASEL III ตามที่ BCBS เสนอมาตั้งแต่ปี 2553 นั้น เนื่องจาก ธปท. ได้เผยแพร่ประกาศเรื่อง หลักเกณฑ์การดำรงสินทรัพย์สภาพคล่องเพื่อรองรับสถานการณ์ด้านสภาพคล่องที่มีความรุนแรง (LCR) เมื่อ 27 พ.ค. 58 ธปท. จึงออกหนังสือเวียน ที่ ธปท. ฝนส. (01) ว. 35/2558 เรื่อง การรายงานข้อมูลตามแบบรายงานความเสี่ยงด้านสภาพคล่อง เมื่อ 30 มิ.ย. 58 เพื่อปรับปรุงแนวทางการจัดส่งข้อมูลความเสี่ยงด้านสภาพคล่อง เพื่อให้ ธปท. สามารถติดตามการปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ LCR ได้ชัดเจนยิ่งขึ้น รวมถึงพิจารณากำหนดหลักเกณฑ์ NSFR ที่เหมาะสมกับประเทศไทย สรุปแนวทางการจัดส่งข้อมูลได้ ดังนี้
 
1) จัดส่งแบบรายงาน LCR ที่ ธปท. ได้ปรับให้สอดคล้องกับประกาศ ธปท. ที่ สนส. 9/2558 เรื่อง หลักเกณฑ์การดำรงสินทรัพย์สภาพคล่องเพื่อรองรับสถานการณ์ด้านสภาพคล่องที่มีความรุนแรง (LCR) โดยให้รายงานเป็นรายไตรมาสเช่นเดิม และตั้งแต่วันที่ 1 ม.ค. 59 ซึ่งหลักเกณฑ์ LCR มีผลบังคับใช้ ให้รายงานเป็นรายเดือน          
 
2) จัดส่งแบบรายงาน NSFR ที่ ธปท. ได้ปรับให้สอดคล้องกับหลักเกณฑ์ BCBS ฉบับ Final ที่เผยแพร่เมื่อ 31 ต.ค. 57 เพื่อให้การประเมินผลกระทบประกอบการพิจารณากำหนดหลักเกณฑ์ที่เหมาะสมกับประเทศไทยมีความถูกต้องยิ่งขึ้น โดยให้รายงานเป็นรายครึ่งปีเช่นเดิม          
3) จัดส่งแบบรายงานฐานะสภาพคล่องสุทธิ และแบบรายงานการกระจุกตัวของแหล่งเงิน ซึ่ง ธปท. ได้จัดทำเพิ่มเติมเพื่อพัฒนาฐานข้อมูลให้มีความครอบคลุมเป็นมาตรฐาน และส่งเสริมให้การดูแลเสถียรภาพระบบการเงินและสถาบันการเงินมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น โดยให้เริ่มรายงานตั้งแต่งวดสิ้นเดือน ก.ย. 58 เป็นรายไตรมาส และตั้งแต่วันที่ 1 ม.ค. 59 ให้รายงานเป็นรายเดือน          
 
ธปท. จึงขอความร่วมมือ ธพ. จัดทำรายงานข้อมูลโดยอ้างอิงรายละเอียดการรายงานตามคู่มือการจัดทำแบบรายงานที่แนบมาพร้อมนี้ ตั้งแต่งวดสิ้นเดือน มิ.ย. 58 เป็นต้นไป โดยท่านสามารถ download แบบรายงาน และคู่มือการจัดทำแบบรายงานความเสี่ยงด้านสภาพคล่องได้ตาม Link ต่อไปนี้ https://www.bot.or.th/Thai/Statistics/DataManagementSystem/ReportDoc/BaselIIILiquidity/Pages/Liquidity.aspx
 
1. แบบรายงาน LCR แบบรายงาน NSFR แบบรายงาน Liquidity Gap และแบบรายงาน Funding Concentration (ฉบับ มิ.ย. 58) จะจัดแสดงภายใต้หัวข้อ “แบบรายงาน”
 
2. หนังสือเวียนที่ ธปท. ฝนส. (02) ว. 35/2558 เรื่อง การรายงานข้อมูลตามแบบรายงานความเสี่ยงด้านสภาพคล่อง และคู่มือการจัดทำแบบรายงานความเสี่ยงด้านสภาพคล่อง (ฉบับ มิ.ย. 58) จะจัดแสดงภายใต้หัวข้อ “ประกาศที่เกี่ยวข้อง”

 

เรื่องน่าสนใจ
รวมประกาศและแนวนโยบายด้าน สง.
การกำกับดูแลสถาบันการเงินเฉพาะกิจ (SFIs)
การกำกับดูแลด้านการให้บริการแก่ลูกค้าอย่างเป็นธรรม
มาตรการช่วยเหลือและข้อมูลสถาบันการเงินในสถานการณ์ COVID-19
Consultation Paper เรื่อง หลักเกณฑ์การอนุญาตให้ ธพ. ประกอบธุรกิจให้บริการอื่นที่เกี่ยวข้องกับ IT เพื่อสนับสนุน digital banking (IT related services)
Consultation Paper เรื่อง หลักเกณฑ์การกากับดูแลความเสี่ยงด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology Risk) ของสถาบันการเงิน
หลักเกณฑ์การกำกับดูแลการประกอบธุรกิจ Peer to Peer Lending Platform
Consultation Paper เรื่อง แนวทางการปรับปรุงหลักเกณฑ์การกำกับดูแล บบส. ที่จดทะเบียนภายใต้กฎหมายว่าด้วยบริษัทบริหาร
ประกาศหลักเกณฑ์การกำกับดูแลสินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัย
Consultation Paper เรื่อง แนวนโยบาย Macroprudential สำหรับสินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัย
Share
Tweet
Share
Tweet
เกี่ยวกับ ธปท.
  • บทบาทหน้าที่และประวัติ
  • การกำกับดูแลกิจการที่ดี
  • ธปท. กับบทบาทการพัฒนาอย่างยั่งยืน
  • ความร่วมมือระหว่างประเทศ
  • กฎหมาย/กฎเกณฑ์
  • ผังโครงสร้างองค์กร
  • คณะกรรมการ
  • รายงานทางการเงิน
  • รายงานประจำปี ธปท.
  • ธนบัตร
  • มูลนิธิ 50 ปี ธปท.
  • สมัครงานและทุน
  • พิพิธภัณฑ์และแหล่งเรียนรู้
  • ศคง. 1213
  • งานและกิจกรรม
นโยบายการเงิน
  • คณะกรรมการ กนง.
  • เป้าหมายของนโยบายการเงิน
  • กำหนดการประชุม
  • ผลการประชุม กนง.
  • เอกสารเผยแพร่ของ กนง.
  • ความรู้เรื่องนโยบายการเงิน
  • ภาวะเศรษฐกิจไทย
  • เศรษฐกิจภูมิภาค
  • งานวิจัยและสัมมนาวิชาการ
สถาบันการเงิน
  • คณะกรรมการ กนส.
  • โครงสร้างระบบ สง. ไทย
  • บทบาทของ ธปท. ด้าน สง.
  • การกำหนดนโยบาย สง.
  • การกำกับตรวจสอบ สง.
  • ความร่วมมือกับผู้กำกับดูแลอื่น
  • ธุรกิจการเงินที่ ธปท. กำกับดูแล​​​​
  • มุมสถาบันการเงิน
  • การธนาคารเพื่อความยั่งยืน
  • โครงการพัฒนา Digital Factoring Ecosystem
  • โครงการ API Standard
ตลาดการเงิน
  • การดำเนินนโยบายการเงิน
  • การบริหารเงินสำรอง
  • การพัฒนาตลาดการเงิน
  • ตลาดเงินตราต่างประเทศ
  • หลักเกณฑ์การแลกเปลี่ยนเงิน
  • การลงทุนโดยตรง ตปท.
  • อัตราดอกเบี้ยอ้างอิงและแนวทางรองรับการยุติการใช้ LIBOR
  • โครงการลงทะเบียนแสดงตัวตนของผู้ลงทุนตราสารหนี้ในประเทศไทย (BIR)
ระบบการชำระเงิน
  • คณะกรรมการ กรช.
  • นโยบายการชำระเงิน
  • การกำกับดูแลระบบการชำระเงิน
  • การกำกับตาม พ.ร.บ. ระบบการชำระเงิน 2560
  • บริการระบบการชำระเงิน
  • แนวนโยบาย/แนวปฏิบัติ /มาตรฐานระบบการชำระเงิน
  • ระเบียบ/ประกาศระบบการชำระเงิน
  • เทคโนโลยีทางการเงิน
  • การชำระเงินกับต่างประเทศ
สถิติ
  • สถิติตลาดการเงิน
  • สถิติเศรษฐกิจการเงิน
  • สถิติสถาบันการเงิน
  • สถิติระบบการชำระเงิน
  • สถิติเศรษฐกิจการเงินภูมิภาค
  • เครื่องชี้ภาวะเศรษฐกิจสำคัญ
  • แผนภูมิข้อมูลเศรษฐกิจสำคัญ
  • การรับส่งข้อมูลกับ ธปท.
  • บทความและเอกสารเผยแพร่ด้านสถิติ
  • คู่มือประชาชนด้านสถิติ
  • บริการข้อมูล BOT API
ตารางเวลาเผยแพร่
เงื่อนไขการให้บริการ
นโยบายคุ้มครอง
ข้อมูลส่วนบุคคล
เชื่อมโยง
คำถามถามบ่อย
ติดต่อ ธปท.

©2015 Bank of Thailand. All rights reserved.   ( เว็บไซต์นี้รับชมได้ดี ด้วยเว็บเบราว์เซอร์ Chrome, Safari, Firefox หรือ IE 10 ขึ้นไป )
สอบถาม/ข้อเสนอแนะ/ร้องเรียน
ลงทะเบียนรับข้อมูล/ข่าวสาร

ผู้จัดการบริการ
ลลิดา โทร 0-2283-5874
ชฎาธาร โทร 0-2283-5307

©2015 Bank of Thailand. All rights reserved.