• EN
    • EN
  • เกี่ยวกับ ธปท.
    • บทบาทหน้าที่และประวัติ
    • การกำกับดูแลกิจการที่ดี
    • ธปท. กับบทบาทการพัฒนาอย่างยั่งยืน
    • ความร่วมมือระหว่างประเทศ
    • กฎหมาย/กฎเกณฑ์
    • ผังโครงสร้างองค์กร
    • คณะกรรมการ
    • รายงานทางการเงิน
    • รายงานประจำปี ธปท.
    • ธนบัตร
    • มูลนิธิ 50 ปี ธปท.
    • สมัครงานและทุน
    • พิพิธภัณฑ์และแหล่งเรียนรู้
    • ศคง. 1213
    • งานและกิจกรรม
  • นโยบายการเงิน
    • คณะกรรมการ กนง.
    • เป้าหมายของนโยบายการเงิน
    • กำหนดการประชุม
    • ผลการประชุม กนง.
    • เอกสารเผยแพร่ของ กนง.
    • ความรู้เรื่องนโยบายการเงิน
    • ภาวะเศรษฐกิจไทย
    • เศรษฐกิจภูมิภาค
    • งานวิจัยและสัมมนาวิชาการ
  • สถาบันการเงิน
    • คณะกรรมการ กนส.
    • โครงสร้างระบบ สง. ไทย
    • บทบาทของ ธปท. ด้าน สง.
    • การกำหนดนโยบาย สง.
    • การกำกับตรวจสอบ สง.
    • ความร่วมมือกับผู้กำกับดูแลอื่น
    • ธุรกิจการเงินที่ ธปท. กำกับดูแล​​​​
    • มุมสถาบันการเงิน
    • การธนาคารเพื่อความยั่งยืน
    • โครงการพัฒนา Digital Factoring Ecosystem
    • โครงการ API Standard
  • ตลาดการเงิน
    • การดำเนินนโยบายการเงิน
    • การบริหารเงินสำรอง
    • การพัฒนาตลาดการเงิน
    • ตลาดเงินตราต่างประเทศ
    • หลักเกณฑ์การแลกเปลี่ยนเงิน
    • การลงทุนโดยตรง ตปท.
    • อัตราดอกเบี้ยอ้างอิงและแนวทางรองรับการยุติการใช้ LIBOR
    • โครงการลงทะเบียนแสดงตัวตนของผู้ลงทุนตราสารหนี้ในประเทศไทย (BIR)
  • ระบบการชำระเงิน
    • คณะกรรมการ กรช.
    • นโยบายการชำระเงิน
    • การกำกับดูแลระบบการชำระเงิน
    • การกำกับตาม พ.ร.บ. ระบบการชำระเงิน 2560
    • บริการระบบการชำระเงิน
    • แนวนโยบาย/แนวปฏิบัติ /มาตรฐานระบบการชำระเงิน
    • ระเบียบ/ประกาศระบบการชำระเงิน
    • เทคโนโลยีทางการเงิน
    • การกำกับและตรวจสอบความเสี่ยงด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
    • การชำระเงินกับต่างประเทศ
  • วิจัยและสัมมนา
    • งานวิจัย
    • งานสัมมนา
    • สถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย ​อึ๊งภากรณ์
  • สถิติ
    • สถิติตลาดการเงิน
    • สถิติเศรษฐกิจการเงิน
    • สถิติสถาบันการเงิน
    • สถิติระบบการชำระเงิน
    • สถิติเศรษฐกิจการเงินภูมิภาค
    • เครื่องชี้ภาวะเศรษฐกิจสำคัญ
    • แผนภูมิข้อมูลเศรษฐกิจสำคัญ
    • การรับส่งข้อมูลกับ ธปท.
    • บทความและเอกสารเผยแพร่ด้านสถิติ
    • คู่มือประชาชนด้านสถิติ
    • บริการข้อมูล BOT API

  • หน้าหลัก
  • > สถาบันการเงิน
  • > เอกสารเผยแพร่
สถาบันการเงิน
สถาบันการเงิน
  • คณะกรรมการ กนส.
  • โครงสร้างระบบ สง. ไทย
  • บทบาทของ ธปท.
    ด้าน สง.
  • การกำหนดนโยบาย สง.
  • การกำกับตรวจสอบ สง.
  • ความร่วมมือกับผู้กำกับดูแลอื่น
  • ธุรกิจการเงินที่ ธปท. กำกับดูแล​​​​
  • มุมสถาบันการเงิน
  • เอกสารเผยแพร่
  • การธนาคารเพื่อความยั่งยืน
  • โครงการพัฒนา Digital Factoring Ecosystem
  • โครงการ API Standard

รายงานเสถียรภาพระบบการเงินไทยรายไตรมาส (ฉบับย่อ)

Financial Stability Snapshot 

          ​

          ภายใต้สถานการณ์ปัจจุบันที่มีความไม่แน่นอนและภาคส่วนต่าง ๆ ในระบบการเงินมีความซับซ้อนและเชื่อมโยงกันสูงเพิ่มสูงขึ้น การติดตามและดูแลเสถียรภาพระบบการเงินจึงต้องเป็นไปอย่างเท่าทันต่อสถานการณ์ เพื่อให้สามารถ “จับควันให้ไว ดับไฟให้ทัน ป้องกันอย่าให้ลาม” ต้องมีการแจ้งเตือนการสะสมความเปราะบางในระบบได้ทันการณ์ การออกมาตรการควบคุมดูแลความเสี่ยงที่อาจส่งผ่านมาสู่ระบบการเงินไทยอย่างทันท่วงที และการป้องกันไม่ให้ปัญหาที่อาจเกิดขึ้นจากจุดเปราะบางดังกล่าวลามไปกระทบระบบการเงินส่วนอื่น ๆ อีกทั้งต้องอาศัยความเข้าใจและความร่วมมือจากทั้งภาครัฐและภาคเอกชนในการดูแลระบบการเงินไทยให้มีความเข้มแข็งรวมถึงมีความยืดหยุ่นสามารถรองรับความเปลี่ยนแปลงและความไม่แน่นอนในอนาคตได้ดี (Resilient)

          การสื่อสารประเด็นความเสี่ยงด้านเสถียรภาพระบบการเงินที่ทันการณ์จะเป็นตัวแปรสำคัญในการสร้างความเข้าใจและความร่วมมือระหว่างภาคส่วนต่าง ๆ รวมถึงประชาชน ธปท. จึงได้จัดทำรายงานเสถียรภาพระบบการเงินไทยรายไตรมาส (Quarterly Financial Stability Snapshot) โดยจะครอบคลุมประเด็นความเสี่ยงด้านเสถียรภาพระบบการเงินที่สำคัญ 8 ด้าน คือ ภาคครัวเรือน ภาคธุรกิจ ภาคอสังหาริมทรัพย์ ภาคธนาคารพาณิชย์ & non-bank ภาคสหกรณ์ ภาคตลาดการเงิน ภาคต่างประเทศ และภาค digital asset เพื่อให้สาธารณชนรับทราบถึงสถานะและความเสี่ยงที่อาจเกิดต่อเสถียรภาพระบบการเงินไทย


รายงานเสถียรภาพระบบการเงินไทยรายไตรมาส (ฉบับย่อ) ประจำ  
 

ระบบการเงินไทยยังมีเสถียรภาพ แต่หากปัญหาภูมิรัฐศาสตร์ระหว่างรัสเซียและยูเครนยืดเยื้อ อาจส่งผลให้ค่าครองชีพและต้นทุนการผลิตปรับเพิ่มขึ้นจนกระทบต่อเสถียรภาพระบบการเงิน ผ่านความสามารถในการชำระหนี้ที่ด้อยลงของภาคครัวเรือนและภาคธุรกิจและการสูญเสียความเชื่อมั่นของนักลงทุน

ภาคครัวเรือนยังคงเปราะบางต่อเนื่องจากภาระหนี้ที่สูง และรายได้ที่ยังฟื้นตัวได้ไม่เต็มที่ นอกจากนี้ ยังต้องติดตามความสามารถในการชำระหนี้ของครัวเรือน โดยเฉพาะในภาวะที่ค่าครองชีพสูงขึ้นจากภาวะเงินเฟ้อ

ธุรกิจขนาดใหญ่ ผลประกอบการและฐานะฟื้นตัวตามภาวะเศรษฐกิจโลกและการผ่อนคลายมาตรการล็อกดาวน์ ขณะที่ SMEs สินเชื่อขยายตัวได้เล็กน้อยจากมาตรการสินเชื่อฟื้นฟู แต่ยังต้องติดตามความสามารถในการชำระหนี้และความต่อเนื่องของการฟื้นตัว โดยเฉพาะภาคบริการที่เกี่ยวเนื่องกับการท่องเที่ยว

ตลาดที่อยู่อาศัยมีสัญญาณฟื้นตัวจากอุปทานที่เร่งตัวขึ้น และ ธพ. เริ่มปรับการพิจารณาสินเชื่อของกลุ่มผู้กู้ที่มีกำลังซื้อ ตอบสนองการผ่อนคลายเกณฑ์ LTV อย่างไรก็ดี อุปสงค์ยังคงชะลอตัว จึงต้องติดตามภาวะอุปทานคงค้างในระยะต่อไป

ความเสี่ยงอยู่ในระดับปานกลาง แต่สถานการณ์การระบาดของ COVID-19 ที่ยืดเยื้อ รวมถึงปัญหาภูมิรัฐศาสตร์ระหว่างรัสเซียและยูเครน อาจส่งผลกระทบต่อคุณภาพสินเชื่อในบางภาคส่วนทางเศรษฐกิจ  นอกจากนี้ การแข่งขันที่มีแนวโน้มสูงขึ้น อาจกดดันความสามารถการทำกำไรในระยะข้างหน้า

​สหกรณ์ออมทรัพย์ที่มีสภาพคล่องส่วนเกินยังขยายการลงทุนในสินทรัพย์ทางการเงินอย่างต่อเนื่อง และอาจได้รับผลกระทบหากตลาดการเงินมีความผันผวนสูงขึ้นจากปัญหาภูมิรัฐศาสตร์ระหว่างรัสเซียและยูเครน

กลไกตลาดยังทำงานได้ปกติ แต่ต้องติดตามพฤติกรรม search for yield และความผันผวนในตลาดการเงินโลก จากการขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายของประเทศเศรษฐกิจหลักและปัญหาภูมิรัฐศาสตร์ระหว่างรัสเซียและยูเครนที่อาจส่งผ่านมาสู่ตลาดการเงินไทย

ยังคงเข้มแข็งและมีแนวโน้มปรับตัวดีขึ้นตามดุลบัญชีเดินสะพัดที่ขาดดุลลดลง

ความเสี่ยงและนัยของเสถียรภาพระบบการเงินไทยโดยรวมอยู่ในระดับต่ำ แต่ต้องติดตามต่อเนื่องเพราะตลาดมีความผันผวนสูงและขยายตัวเร็ว 

​>>Download PDF ฉบับเต็ม

1 - 11
Share
Tweet
Share
Tweet
เกี่ยวกับ ธปท.
  • บทบาทหน้าที่และประวัติ
  • การกำกับดูแลกิจการที่ดี
  • ธปท. กับบทบาทการพัฒนาอย่างยั่งยืน
  • ความร่วมมือระหว่างประเทศ
  • กฎหมาย/กฎเกณฑ์
  • ผังโครงสร้างองค์กร
  • คณะกรรมการ
  • รายงานทางการเงิน
  • รายงานประจำปี ธปท.
  • ธนบัตร
  • มูลนิธิ 50 ปี ธปท.
  • สมัครงานและทุน
  • พิพิธภัณฑ์และแหล่งเรียนรู้
  • ศคง. 1213
  • งานและกิจกรรม
นโยบายการเงิน
  • คณะกรรมการ กนง.
  • เป้าหมายของนโยบายการเงิน
  • กำหนดการประชุม
  • ผลการประชุม กนง.
  • เอกสารเผยแพร่ของ กนง.
  • ความรู้เรื่องนโยบายการเงิน
  • ภาวะเศรษฐกิจไทย
  • เศรษฐกิจภูมิภาค
  • งานวิจัยและสัมมนาวิชาการ
สถาบันการเงิน
  • คณะกรรมการ กนส.
  • โครงสร้างระบบ สง. ไทย
  • บทบาทของ ธปท. ด้าน สง.
  • การกำหนดนโยบาย สง.
  • การกำกับตรวจสอบ สง.
  • ความร่วมมือกับผู้กำกับดูแลอื่น
  • ธุรกิจการเงินที่ ธปท. กำกับดูแล​​​​
  • มุมสถาบันการเงิน
  • การธนาคารเพื่อความยั่งยืน
  • โครงการพัฒนา Digital Factoring Ecosystem
  • โครงการ API Standard
ตลาดการเงิน
  • การดำเนินนโยบายการเงิน
  • การบริหารเงินสำรอง
  • การพัฒนาตลาดการเงิน
  • ตลาดเงินตราต่างประเทศ
  • หลักเกณฑ์การแลกเปลี่ยนเงิน
  • การลงทุนโดยตรง ตปท.
  • อัตราดอกเบี้ยอ้างอิงและแนวทางรองรับการยุติการใช้ LIBOR
  • โครงการลงทะเบียนแสดงตัวตนของผู้ลงทุนตราสารหนี้ในประเทศไทย (BIR)
ระบบการชำระเงิน
  • คณะกรรมการ กรช.
  • นโยบายการชำระเงิน
  • การกำกับดูแลระบบการชำระเงิน
  • การกำกับตาม พ.ร.บ. ระบบการชำระเงิน 2560
  • บริการระบบการชำระเงิน
  • แนวนโยบาย/แนวปฏิบัติ /มาตรฐานระบบการชำระเงิน
  • ระเบียบ/ประกาศระบบการชำระเงิน
  • เทคโนโลยีทางการเงิน
  • การกำกับและตรวจสอบความเสี่ยงด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
  • การชำระเงินกับต่างประเทศ
สถิติ
  • สถิติตลาดการเงิน
  • สถิติเศรษฐกิจการเงิน
  • สถิติสถาบันการเงิน
  • สถิติระบบการชำระเงิน
  • สถิติเศรษฐกิจการเงินภูมิภาค
  • เครื่องชี้ภาวะเศรษฐกิจสำคัญ
  • แผนภูมิข้อมูลเศรษฐกิจสำคัญ
  • การรับส่งข้อมูลกับ ธปท.
  • บทความและเอกสารเผยแพร่ด้านสถิติ
  • คู่มือประชาชนด้านสถิติ
  • บริการข้อมูล BOT API
ตารางเวลาเผยแพร่
เงื่อนไขการให้บริการ
นโยบายคุ้มครอง
ข้อมูลส่วนบุคคล
เชื่อมโยง
คำถามถามบ่อย
ติดต่อ ธปท.

©2015 Bank of Thailand. All rights reserved.   ( เว็บไซต์นี้รับชมได้ดี ด้วยเว็บเบราว์เซอร์ Chrome, Safari, Firefox หรือ IE 10 ขึ้นไป )
สอบถาม/ข้อเสนอแนะ/ร้องเรียน
ลงทะเบียนรับข้อมูล/ข่าวสาร


©2015 Bank of Thailand. All rights reserved.