• EN
    • EN
  • เกี่ยวกับ ธปท.
    • บทบาทหน้าที่และประวัติ
    • การกำกับดูแลกิจการที่ดี
    • ธปท. กับบทบาทการพัฒนาอย่างยั่งยืน
    • ความร่วมมือระหว่างประเทศ
    • กฎหมาย/กฎเกณฑ์
    • ผังโครงสร้างองค์กร
    • คณะกรรมการ
    • รายงานทางการเงิน
    • รายงานประจำปี ธปท.
    • ธนบัตร
    • มูลนิธิ 50 ปี ธปท.
    • สมัครงานและทุน
    • พิพิธภัณฑ์และแหล่งเรียนรู้
    • ศคง. 1213
    • งานและกิจกรรม
  • นโยบายการเงิน
    • คณะกรรมการ กนง.
    • เป้าหมายของนโยบายการเงิน
    • กำหนดการประชุม
    • ผลการประชุม กนง.
    • เอกสารเผยแพร่ของ กนง.
    • ความรู้เรื่องนโยบายการเงิน
    • ภาวะเศรษฐกิจไทย
    • เศรษฐกิจภูมิภาค
    • งานวิจัยและสัมมนาวิชาการ
  • สถาบันการเงิน
    • คณะกรรมการ กนส.
    • โครงสร้างระบบ สง. ไทย
    • บทบาทของ ธปท. ด้าน สง.
    • การกำหนดนโยบาย สง.
    • การกำกับตรวจสอบ สง.
    • ความร่วมมือกับผู้กำกับดูแลอื่น
    • ธุรกิจการเงินที่ ธปท. กำกับดูแล​​​​
    • มุมสถาบันการเงิน
    • การธนาคารเพื่อความยั่งยืน
    • โครงการพัฒนา Digital Factoring Ecosystem
    • โครงการ API Standard
  • ตลาดการเงิน
    • การดำเนินนโยบายการเงิน
    • การบริหารเงินสำรอง
    • การพัฒนาตลาดการเงิน
    • ตลาดเงินตราต่างประเทศ
    • หลักเกณฑ์การแลกเปลี่ยนเงิน
    • การลงทุนโดยตรง ตปท.
    • อัตราดอกเบี้ยอ้างอิงและแนวทางรองรับการยุติการใช้ LIBOR
    • โครงการลงทะเบียนแสดงตัวตนของผู้ลงทุนตราสารหนี้ในประเทศไทย (BIR)
  • ระบบการชำระเงิน
    • คณะกรรมการ กรช.
    • นโยบายการชำระเงิน
    • การกำกับดูแลระบบการชำระเงิน
    • การกำกับตาม พ.ร.บ. ระบบการชำระเงิน 2560
    • บริการระบบการชำระเงิน
    • แนวนโยบาย/แนวปฏิบัติ /มาตรฐานระบบการชำระเงิน
    • ระเบียบ/ประกาศระบบการชำระเงิน
    • เทคโนโลยีทางการเงิน
    • การชำระเงินกับต่างประเทศ
  • วิจัยและสัมมนา
    • งานวิจัย
    • งานสัมมนา
    • สถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย ​อึ๊งภากรณ์
  • สถิติ
    • สถิติตลาดการเงิน
    • สถิติเศรษฐกิจการเงิน
    • สถิติสถาบันการเงิน
    • สถิติระบบการชำระเงิน
    • สถิติเศรษฐกิจการเงินภูมิภาค
    • เครื่องชี้ภาวะเศรษฐกิจสำคัญ
    • แผนภูมิข้อมูลเศรษฐกิจสำคัญ
    • การรับส่งข้อมูลกับ ธปท.
    • บทความและเอกสารเผยแพร่ด้านสถิติ
    • คู่มือประชาชนด้านสถิติ
    • บริการข้อมูล BOT API

  • หน้าหลัก
  • > ตลาดการเงิน
  • > หลักเกณฑ์การแลกเปลี่ยนเงิน
  • > มาตรการป้องปรามการเก็งกำไรค่าเงินบาท
ตลาดการเงิน
ตลาดการเงิน
  • การดำเนินนโยบายการเงิน
    • การดำรงสินทรัพย์สภาพคล่อง
    • การออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย
    • ธุรกรรมซื้อคืนพันธบัตรแบบทวิภาคี
    • ธุรกรรมซื้อหรือขายขาดตราสารหนี้ภาครัฐ
    • สวอปเงินตราต่างประเทศ
    • ธุรกรรมรับฝากเงิน ณ สิ้นวัน
    • ธุรกรรมให้กู้ยืมสภาพคล่อง ณ สิ้นวัน
    • ธุรกรรมการยืมตราสารหนี้
    • ​​​​การกู้ยืมเงินจาก ธปท. ด้วยวิธีขายสินทรัพย์​หลักประกัน
    • ธุรกรรมด้านตลาดการเงินเพื่อการบริหารสภาพคล่อง ในกรณี BAHTNET Offline
    • การสนับสนุนสภาพคล่องให้กับสถาบันการเงินที่ให้ความช่วยเหลือแก่กองทุนรวมตราสารหนี้
  • การพัฒนาตลาดการเงิน
    • วัตถุประสงค์ของการพัฒนาตลาดการเงิน
    • โครงสร้างตลาดการเงินไทย
    • บทบาทของ ธปท. ในการพัฒนาตลาดการเงิน
    • เอกสารเผยแพร่
  • การบริหารเงินสำรอง
    • เงินสำรองทางการของประเทศ
    • การกำกับดูแลการบริหารเงินสำรองทางการ
    • การบริหารเงินสำรองทางการ
  • ตลาดเงินตราต่างประเทศ
    • ​แนวปฏิบัติ FX Global Code
    • การบริหารความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน
    • บทความที่น่าสนใจ
  • หลักเกณฑ์การแลกเปลี่ยนเงิน
    • กฏหมายควบคุมการแลกเปลี่ยนเงิน
    • ธุรกิจปัจจัยชำระเงินต่างประเทศ
    • มาตรการป้องปรามการเก็งกำไรค่าเงินบาท
    • การลงทุนต่างประเทศสำหรับผู้ลงทุนรายย่อย
    • 7 ข้อเท็จจริงเรื่องค่าเงินบาท และการปรับตัวภายใต้ความผันผวนของเศรษฐกิจโลก
    • การขออนุญาตและส่งรายงานข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
    • แบบรายงาน
    • คู่มือประชาชน/ เอกสารเผยแพร่และชี้แจง
    • ติดต่อเจ้าหน้าที่
    • FAQs
  • การลงทุนโดยตรง ตปท.
    • เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการลงทุนโดยตรงในต่างประเทศ
    • ระเบียบและข้อกฏหมายที่เกี่ยวกับการลงทุนต่างประเทศ
    • บทความ งานศึกษา ที่น่าสนใจ
    • ข้อมูลเกี่ยวข้องกับการลงทุนโดยตรงในต่างประเทศ
    • เรื่องอื่น ๆ ที่น่าสนใจ
    • หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการลงทุนในต่างประเทศ
  • อัตราดอกเบี้ยอ้างอิงและแนวทางรองรับการยุติการใช้ LIBOR
  • โครงการลงทะเบียนแสดงตัวตนของผู้ลงทุนตราสารหนี้ในประเทศไทย (BIR)

    วัตถุประสงค์ของมาตรการป้องปรามการเก็งกำไรค่าเงินบาท

    มาตรการป้องปรามการเก็งกำไรค่าเงินบาท มีวัตถุประสงค์เพื่อกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีปฏิบัติในการทำธุรกรรมที่เกี่ยวข้องกับเงินบาทระหว่างสถาบันการเงินในประเทศกับผู้มีถิ่นที่อยู่นอกประเทศ (Non-resident: NR) เพื่อลดความผันผวนของค่าเงินบาท อันเนื่องมาจากการเก็งกำไรหรือการทำธุรกรรมของ NR ที่ไม่มีการค้าหรือการลงทุนในประเทศรองรับ (underlying)

    ปัจจุบันมาตรการป้องปรามฯ ประกอบด้วย 4 มาตรการย่อย คือ

    1. มาตรการจำกัดการปล่อยสภาพคล่​​องเงินบาท

    หลักการ : จำกัดสถาบันการเงินในประเทศในการปล่อยสภาพคล่องเงินบาท หรือทำธุรกรรมที่มีผลเสมือนปล่อยสภาพคล่องเงินบาทให้แก่ NR  โดยหากไม่มี underlying รองรับ ให้แต่ละสถาบันการเงินทำได้ไม่เกิน 200 ล้านบาทต่อกลุ่ม NR (รวมทุกธุรกรรมที่ไม่มี underlying) 

    2. มาตรการดูแลเงินลงทุนนำเข้า

    หลักการ : จำกัดสถาบันการเงินในประเทศในการกู้ยืมเงินบาท หรือทำธุรกรรมที่มีผลเสมือนกู้ยืมเงินบาทจาก NR โดยหากไม่มี underlying รองรับ ให้แต่ละสถาบันการเงินทำได้ไม่เกิน 10 ล้านบาทต่อกลุ่ม NR (รวมทุกธุรกรรมที่ไม่มี underlying) 

    3. มาตรการดูแลบัญชี NRBA และบัญชี NRBS

    หลักการ : จำกัดยอดคงค้าง ณ สิ้นวันในบัญชี NRBA และ NRBS ไม่ให้เกินประเภทบัญชีละ 200 ล้านบาทต่อราย NR และให้สถาบันการเงินงดจ่ายดอกเบี้ยแก่บัญชี NRBA และ NRBS  ยกเว้นเฉพาะบัญชี NRBA ที่เปิดเป็นบัญชีเงินฝากประจำอายุตั้งแต่ 6 เดือนขึ้นไป

    4. มาตรการดูแลธุรกรรม Non-Deliverable Forward (NDF)

    หลักการ : ให้สถาบันการเงินระงับการทำธุรกรรม NDF อ้างอิงเงินบาทกับ NR

     

    ​นิยามของ Non-resident (NR)

    หมายถึง นิติบุคคล หรือบุคคลที่ไม่ได้มีถิ่นที่อยู่ในประเทศไทยซึ่งประกอบด้วย
    1.  นิติบุคคล ได้แก่ กิจการ สถาบัน กองทุน บริษัท หรือสถาบันการเงินที่ตั้งอยู่นอกประเทศไทย
    2.  องค์กรของรัฐบาลต่างประเทศที่ตั้งอยู่นอกประเทศไทย              
    3.  สำนักงานสาขาและตัวแทนของนิติบุคคลซึ่งตั้งอยู่นอกประเทศไทย
    4.  บุคคลธรรมดาที่ไม่มีสัญชาติไทย และไม่มีใบต่างด้าว หรือใบสำคัญถิ่นที่อยู่ในประเทศไทย 

     

    ยกเว้น นิติบุคคลดังต่อไปนี้ ไม่เข้าหลักเกณฑ์และเงื่อนไขของมาตรการป้องปรามการเก็งกำไรค่าเงินบาท ได้แก่

    1. สถานทูตไทย สถานกงสุลไทย หรือหน่วยงานของรัฐบาลไทยที่ตั้งอยู่นอกประเทศไทย

    2. สถานทูตต่างประเทศ สถานกงสุล ทบวงการชำนัญพิเศษแห่งองค์การสหประชาชาติ องค์การหรือสถาบันระหว่างประเทศที่ประจำการในประเทศไทย สถาบันการเงินระหว่างประเทศที่ประจำการในประเทศไทย

    3. สำนักงานสาขาและตัวแทนของบุคคลที่มีถิ่นที่อยู่นอกประเทศซึ่งตั้งอยู่ในประเทศไทย

    ปรับปรุง วันที่ 5 มกราคม 2564

    พิธีปฏิบัติของสถาบันการเงิน

    ค้นหา
    เรื่อง ไฟล์
    แนวทางการรายงานข้อมูลและยื่นขออนุญาตผ่านระบบคำขอมาตรการป้องปรามฯ สำหรับ Non-resident Qualified Company (NRQC)
    การผ่อนผันแนวปฏิบัติภายใต้มาตรการป้องปรามการเก็งกำไรค่าเงินบาท (1 เมษายน 2563) ปรับปรุง 19 มกราคม 2564
    สรุปหลักเกณฑ์ตามมาตรการป้องปรามการเก็งกำไรค่าเงินบาท (ปรับปรุง 5 มกราคม 2564)
    สรุปการปรับปรุงมาตรการป้องปรามฯ (นสว. 371/2551 เทียบกับ นสว.ใหม่ 834/2560)
    แนวปฏิบัติกรณีสถาบันการเงินปล่อยสภาพคล่องเงินบาทให้กับ NR แบบมี underlying รองรับ ปรับปรุง 4 มีนาคม 2559
    แนวปฏิบัติกรณีสถาบันการเงินในประเทศซื้อและขายเงินบาท value same day หรือ value tomorrow กับ NR แบบมี underlying รองรับ (ปรับปรุง 4 มีนาคม 2559)
    แนวปฏิบัติกรณีสถาบันการเงินกู้หรือเสมือนกู้เงินบาทจาก NR แบบมี underlying รองรับ (ปรับปรุง ณ 7 ตุลาคม 2558)
    วัตถุประสงค์และหลักการ มาตรการป้องปรามการเก็งกำไรค่าเงินบาท/_catalogs/masterpage/img/collapse.png

    หนังสือเวียนมาตรการป้องปรามการเก็งกำไรค่าเงินบาท

    ค้นหา
    เลขที่หนังสือ วันที่ เรื่อง ไฟล์
    ธปท.ฝกง.(21) ว.4/2564
    5 ม.ค. 64 การผ่อนคลายมาตรการป้องปรามการเก็งกำไรค่าเงินบาท สำหรับนิติบุคคลที่มีถิ่นที่อยู่นอกประเทศที่มีคุณสมบัติตามที่กำหนด (NRQC)
    ธปท.ฝกง.(21) ว.3/2564
    5 ม.ค. 64 การปรับลดวงเงินคงค้างในการทำธุรกรรมตามหลักเกณฑ์และวิธีปฏิบัติมาตรการป้องปรามการเก็งกำไรค่าเงินบาท
    ธปท.ฝกง.(21) ว.1035/2562
    12 ก.ค. 62 การปรับลดยอดคงค้าง ณ สิ้นวันในบัญชีเงินบาทของผู้มีถิ่นที่อยู่นอกประเทศตามมาตรการป้องปรามฯ
    ธปท.ฝกง.(21)ว.920/2561
    17 เม.ย. 61 ปรับปรุงการจัดทำรายงานตามมาตรการป้องปรามฯ (บริษัทหลักทรัพย์)
    ธปท.ฝกง.(21) ว. 1759/2560
    2 พ.ย. 60 ผ่อนผันหลักเกณฑ์และวิธีปฏิบัติมาตรการป้องปรามการเก็งกำไรค่าเงินบาทกรณีผิดนัดส่งมอบหลักทรัพย์โดยใช้วิธี Pending Settlement
    ธปท.ฝกง.(21) ว.1217_2560
    21 ส.ค. 60 ขอความร่วมมือให้ติดตามข้อมูลการทำธุรกรรมเงินบาทของผู้มีถิ่นที่อยู่นอกประเทศ
    ธปท.ฝกง.(21) ว.834/2560
    31 พ.ค. 60 การปรับปรุงหลักเกณฑ์และวิธีปฏิบัติมาตรการป้องปรามการเก็งกำไรค่าเงินบาท
    ธปท.ฝกง.(21)ว.856/2560
    2 มิ.ย. 60 การปรับปรุงการรายงานตามชุดข้อมูลมาตรการป้องปรามการเก็งกำไรค่าเงินบาท (สำหรับธนาคารและบริษัทเงินทุน)
    ​

    วัตถุประสงค์

    มาตรการป้องปรามการเก็งกำไรค่าเงินบาท มีวัตถุประสงค์เพื่อกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีปฏิบัติในการทำธุรกรรมที่เกี่ยวข้องกับเงินบาทระหว่างสถาบันการเงินในประเทศกับผู้มีถิ่นที่อยู่นอกประเทศ (Non-resident: NR) เพื่อลดความผันผวนของค่าเงินบาท อันเนื่องมาจากการเก็งกำไรหรือการทำธุรกรรมของ NR ที่ไม่มีการค้าหรือการลงทุนในประเทศรองรับ (underlying)

    ปัจจุบันมาตรการป้องปรามฯ ประกอบด้วย 4 มาตรการย่อย คือ

    1. มาตรการจำกัดการปล่อยสภาพคล่องเงินบาท

    หลักการ : จำกัดสถาบันการเงินในประเทศในการปล่อยสภาพคล่องเงินบาท หรือทำธุรกรรมที่มีผลเสมือนปล่อยสภาพคล่องเงินบาทให้แก่ NR  โดยหากไม่มี underlying รองรับ ให้แต่ละสถาบันการเงินทำได้ไม่เกิน 300 ล้านบาทต่อกลุ่ม NR (รวมทุกธุรกรรมที่ไม่มี underlying) 

    2. มาตรการดูแลเงินลงทุนนำเข้า

    หลักการ : จำกัดสถาบันการเงินในประเทศในการกู้ยืมเงินบาท หรือทำธุรกรรมที่มีผลเสมือนกู้ยืมเงินบาทจาก NR โดยหากไม่มี underlying รองรับ ให้แต่ละสถาบันการเงินทำได้ไม่เกิน 10 ล้านบาทต่อกลุ่ม NR (รวมทุกธุรกรรมที่ไม่มี underlying) 

    3. มาตรการดูแลบัญชี NRBA และบัญชี NRBS

    หลักการ : จำกัดยอดคงค้าง ณ สิ้นวันในบัญชี NRBA และ NRBS ไม่ให้เกินประเภทบัญชีละ 300 ล้านบาทต่อราย NR   และให้สถาบันการเงินงดจ่ายดอกเบี้ยแก่บัญชี NRBA และ NRBS  ยกเว้นเฉพาะบัญชี NRBA ที่เปิดเป็นบัญชีเงินฝากประจำอายุตั้งแต่ 6 เดือนขึ้นไป

    4. มาตรการดูแลธุรกรรม Non-Deliverable Forward (NDF)

    หลักการ : ให้สถาบันการเงินระงับการทำธุรกรรม NDF อ้างอิงเงินบาทกับ NR

    นิยามของ Non-resident (NR) /_catalogs/masterpage/img/collapse.png

    ​นิยามของ Non-resident (NR)

    หมายถึง นิติบุคคล หรือบุคคลที่ไม่ได้มีถิ่นที่อยู่ในประเทศไทยซึ่งประกอบด้วย
    1. นิติบุคคล ได้แก่ กิจการ สถาบัน กองทุน บริษัท หรือสถาบันการเงินที่ตั้งอยู่นอกประเทศไทย
    2.  องค์กรของรัฐบาลต่างประเทศที่ตั้งอยู่นอกประเทศไทย              
    3.  สำนักงานสาขาและตัวแทนของนิติบุคคลซึ่งตั้งอยู่นอกประเทศไทย
    4.  บุคคลธรรมดาที่ไม่มีสัญชาติไทย และไม่มีใบต่างด้าว หรือใบสำคัญถิ่นที่อยู่ในประเทศไทย

     

    ยกเว้น นิติบุคคลดังต่อไปนี้ ไม่เข้าหลักเกณฑ์และเงื่อนไขของมาตรการป้องปรามการเก็งกำไรค่าเงินบาท ได้แก่
    1. สถานฑูตไทย สถานกงสุลไทย หรือหน่วยงานของรัฐบาลไทยที่ตั้

    ทย

    ย
    3. สำนักงานสาขาและตัวแทนของบุคคลที่มีถิ่นที่อยู่นอกประเทศซึ่งตั้งอยู่ในประเทศไทย
     

     
    Share
    Tweet
    Share
    Tweet
    เกี่ยวกับ ธปท.
    • บทบาทหน้าที่และประวัติ
    • การกำกับดูแลกิจการที่ดี
    • ธปท. กับบทบาทการพัฒนาอย่างยั่งยืน
    • ความร่วมมือระหว่างประเทศ
    • กฎหมาย/กฎเกณฑ์
    • ผังโครงสร้างองค์กร
    • คณะกรรมการ
    • รายงานทางการเงิน
    • รายงานประจำปี ธปท.
    • ธนบัตร
    • มูลนิธิ 50 ปี ธปท.
    • สมัครงานและทุน
    • พิพิธภัณฑ์และแหล่งเรียนรู้
    • ศคง. 1213
    • งานและกิจกรรม
    นโยบายการเงิน
    • คณะกรรมการ กนง.
    • เป้าหมายของนโยบายการเงิน
    • กำหนดการประชุม
    • ผลการประชุม กนง.
    • เอกสารเผยแพร่ของ กนง.
    • ความรู้เรื่องนโยบายการเงิน
    • ภาวะเศรษฐกิจไทย
    • เศรษฐกิจภูมิภาค
    • งานวิจัยและสัมมนาวิชาการ
    สถาบันการเงิน
    • คณะกรรมการ กนส.
    • โครงสร้างระบบ สง. ไทย
    • บทบาทของ ธปท. ด้าน สง.
    • การกำหนดนโยบาย สง.
    • การกำกับตรวจสอบ สง.
    • ความร่วมมือกับผู้กำกับดูแลอื่น
    • ธุรกิจการเงินที่ ธปท. กำกับดูแล​​​​
    • มุมสถาบันการเงิน
    • การธนาคารเพื่อความยั่งยืน
    • โครงการพัฒนา Digital Factoring Ecosystem
    • โครงการ API Standard
    ตลาดการเงิน
    • การดำเนินนโยบายการเงิน
    • การบริหารเงินสำรอง
    • การพัฒนาตลาดการเงิน
    • ตลาดเงินตราต่างประเทศ
    • หลักเกณฑ์การแลกเปลี่ยนเงิน
    • การลงทุนโดยตรง ตปท.
    • อัตราดอกเบี้ยอ้างอิงและแนวทางรองรับการยุติการใช้ LIBOR
    • โครงการลงทะเบียนแสดงตัวตนของผู้ลงทุนตราสารหนี้ในประเทศไทย (BIR)
    ระบบการชำระเงิน
    • คณะกรรมการ กรช.
    • นโยบายการชำระเงิน
    • การกำกับดูแลระบบการชำระเงิน
    • การกำกับตาม พ.ร.บ. ระบบการชำระเงิน 2560
    • บริการระบบการชำระเงิน
    • แนวนโยบาย/แนวปฏิบัติ /มาตรฐานระบบการชำระเงิน
    • ระเบียบ/ประกาศระบบการชำระเงิน
    • เทคโนโลยีทางการเงิน
    • การชำระเงินกับต่างประเทศ
    สถิติ
    • สถิติตลาดการเงิน
    • สถิติเศรษฐกิจการเงิน
    • สถิติสถาบันการเงิน
    • สถิติระบบการชำระเงิน
    • สถิติเศรษฐกิจการเงินภูมิภาค
    • เครื่องชี้ภาวะเศรษฐกิจสำคัญ
    • แผนภูมิข้อมูลเศรษฐกิจสำคัญ
    • การรับส่งข้อมูลกับ ธปท.
    • บทความและเอกสารเผยแพร่ด้านสถิติ
    • คู่มือประชาชนด้านสถิติ
    • บริการข้อมูล BOT API
    ตารางเวลาเผยแพร่
    เงื่อนไขการให้บริการ
    นโยบายคุ้มครอง
    ข้อมูลส่วนบุคคล
    เชื่อมโยง
    คำถามถามบ่อย
    ติดต่อ ธปท.

    ©2015 Bank of Thailand. All rights reserved.   ( เว็บไซต์นี้รับชมได้ดี ด้วยเว็บเบราว์เซอร์ Chrome, Safari, Firefox หรือ IE 10 ขึ้นไป )
    สอบถาม/ข้อเสนอแนะ/ร้องเรียน
    ลงทะเบียนรับข้อมูล/ข่าวสาร

    ผู้จัดการบริการ
    นุชนาฏ โทร 0-2283-5426
    นุชนารถ โทร 0-2283-5326

    ©2015 Bank of Thailand. All rights reserved.