• EN
    • EN
  • เกี่ยวกับ ธปท.
    • บทบาทหน้าที่และประวัติ
    • การกำกับดูแลกิจการที่ดี
    • ธปท. กับบทบาทการพัฒนาอย่างยั่งยืน
    • ความร่วมมือระหว่างประเทศ
    • กฎหมาย/กฎเกณฑ์
    • ผังโครงสร้างองค์กร
    • คณะกรรมการ
    • รายงานทางการเงิน
    • รายงานประจำปี ธปท.
    • ธนบัตร
    • มูลนิธิ 50 ปี ธปท.
    • สมัครงานและทุน
    • พิพิธภัณฑ์และแหล่งเรียนรู้
    • ศคง. 1213
    • งานและกิจกรรม
  • นโยบายการเงิน
    • คณะกรรมการ กนง.
    • เป้าหมายของนโยบายการเงิน
    • กำหนดการประชุม
    • ผลการประชุม กนง.
    • เอกสารเผยแพร่ของ กนง.
    • ความรู้เรื่องนโยบายการเงิน
    • ภาวะเศรษฐกิจไทย
    • เศรษฐกิจภูมิภาค
    • งานวิจัยและสัมมนาวิชาการ
  • สถาบันการเงิน
    • คณะกรรมการ กนส.
    • โครงสร้างระบบ สง. ไทย
    • บทบาทของ ธปท. ด้าน สง.
    • การกำหนดนโยบาย สง.
    • การกำกับตรวจสอบ สง.
    • ความร่วมมือกับผู้กำกับดูแลอื่น
    • ธุรกิจการเงินที่ ธปท. กำกับดูแล​​​​
    • มุมสถาบันการเงิน
    • การธนาคารเพื่อความยั่งยืน
    • โครงการพัฒนา Digital Factoring Ecosystem
    • โครงการ API Standard
  • ตลาดการเงิน
    • การดำเนินนโยบายการเงิน
    • การบริหารเงินสำรอง
    • การพัฒนาตลาดการเงิน
    • ตลาดเงินตราต่างประเทศ
    • หลักเกณฑ์การแลกเปลี่ยนเงิน
    • การลงทุนโดยตรง ตปท.
    • อัตราดอกเบี้ยอ้างอิงและแนวทางรองรับการยุติการใช้ LIBOR
    • โครงการลงทะเบียนแสดงตัวตนของผู้ลงทุนตราสารหนี้ในประเทศไทย (BIR)
  • ระบบการชำระเงิน
    • คณะกรรมการ กรช.
    • นโยบายการชำระเงิน
    • การกำกับดูแลระบบการชำระเงิน
    • การกำกับตาม พ.ร.บ. ระบบการชำระเงิน 2560
    • บริการระบบการชำระเงิน
    • แนวนโยบาย/แนวปฏิบัติ /มาตรฐานระบบการชำระเงิน
    • ระเบียบ/ประกาศระบบการชำระเงิน
    • เทคโนโลยีทางการเงิน
    • การชำระเงินกับต่างประเทศ
  • วิจัยและสัมมนา
    • งานวิจัย
    • งานสัมมนา
    • สถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย ​อึ๊งภากรณ์
  • สถิติ
    • สถิติตลาดการเงิน
    • สถิติเศรษฐกิจการเงิน
    • สถิติสถาบันการเงิน
    • สถิติระบบการชำระเงิน
    • สถิติเศรษฐกิจการเงินภูมิภาค
    • เครื่องชี้ภาวะเศรษฐกิจสำคัญ
    • แผนภูมิข้อมูลเศรษฐกิจสำคัญ
    • การรับส่งข้อมูลกับ ธปท.
    • บทความและเอกสารเผยแพร่ด้านสถิติ
    • คู่มือประชาชนด้านสถิติ
    • บริการข้อมูล BOT API

  • หน้าหลัก
  • > ตลาดการเงิน
  • > การดำเนินนโยบายการเงิน
  • > การสนับสนุนสภาพคล่องให้กับสถาบันการเงินที่ให้ความช่วยเหลือแก่กองทุนรวมตราสารหนี้
ตลาดการเงิน
ตลาดการเงิน
  • การดำเนินนโยบายการเงิน
    • การดำรงสินทรัพย์สภาพคล่อง
    • การออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย
    • ธุรกรรมซื้อคืนพันธบัตรแบบทวิภาคี
    • ธุรกรรมซื้อหรือขายขาดตราสารหนี้ภาครัฐ
    • สวอปเงินตราต่างประเทศ
    • ธุรกรรมรับฝากเงิน ณ สิ้นวัน
    • ธุรกรรมให้กู้ยืมสภาพคล่อง ณ สิ้นวัน
    • ธุรกรรมการยืมตราสารหนี้
    • ​​​​การกู้ยืมเงินจาก ธปท. ด้วยวิธีขายสินทรัพย์​หลักประกัน
    • ธุรกรรมด้านตลาดการเงินเพื่อการบริหารสภาพคล่อง ในกรณี BAHTNET Offline
    • การสนับสนุนสภาพคล่องให้กับสถาบันการเงินที่ให้ความช่วยเหลือแก่กองทุนรวมตราสารหนี้
  • การพัฒนาตลาดการเงิน
    • วัตถุประสงค์ของการพัฒนาตลาดการเงิน
    • โครงสร้างตลาดการเงินไทย
    • บทบาทของ ธปท. ในการพัฒนาตลาดการเงิน
    • เอกสารเผยแพร่
  • การบริหารเงินสำรอง
    • เงินสำรองทางการของประเทศ
    • การกำกับดูแลการบริหารเงินสำรองทางการ
    • การบริหารเงินสำรองทางการ
  • ตลาดเงินตราต่างประเทศ
    • ​แนวปฏิบัติ FX Global Code
    • การบริหารความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน
    • บทความที่น่าสนใจ
  • หลักเกณฑ์การแลกเปลี่ยนเงิน
    • กฏหมายควบคุมการแลกเปลี่ยนเงิน
    • ธุรกิจปัจจัยชำระเงินต่างประเทศ
    • มาตรการป้องปรามการเก็งกำไรค่าเงินบาท
    • การลงทุนต่างประเทศสำหรับผู้ลงทุนรายย่อย
    • 7 ข้อเท็จจริงเรื่องค่าเงินบาท และการปรับตัวภายใต้ความผันผวนของเศรษฐกิจโลก
    • การขออนุญาตและส่งรายงานข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
    • แบบรายงาน
    • คู่มือประชาชน/ เอกสารเผยแพร่และชี้แจง
    • ติดต่อเจ้าหน้าที่
    • FAQs
  • การลงทุนโดยตรง ตปท.
    • เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการลงทุนโดยตรงในต่างประเทศ
    • ระเบียบและข้อกฏหมายที่เกี่ยวกับการลงทุนต่างประเทศ
    • บทความ งานศึกษา ที่น่าสนใจ
    • ข้อมูลเกี่ยวข้องกับการลงทุนโดยตรงในต่างประเทศ
    • เรื่องอื่น ๆ ที่น่าสนใจ
    • หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการลงทุนในต่างประเทศ
  • อัตราดอกเบี้ยอ้างอิงและแนวทางรองรับการยุติการใช้ LIBOR
  • โครงการลงทะเบียนแสดงตัวตนของผู้ลงทุนตราสารหนี้ในประเทศไทย (BIR)
​ธปท. ขยายเกณฑ์มาตรการ MFLF ให้ครอบคลุมกองทุนตราสารหนี้ MMF และ Daily ทุกกองทุน
และเพิ่มประเภทสินทรัพย์หลักประกันเพื่อขอสภาพคล่องผ่านธุรกรรม Repo กับ ธปท.

          ​ธปท. ขยายขอบเขตมาตรการช่วยเหลือกองทุนรวมที่ได้รับผลกระทบจากการขาดสภาพคล่องในตลาดการเงิน (Mutual Fund Liquidity Facility: MFLF) ให้มีความยืดหยุ่นและมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น เพื่อรองรับสถานการณ์ที่รุนแรงขึ้นได้อย่างทันท่วงที เพื่อไม่ให้ลุกลามเป็นวงกว้าง

          1. ปรับเงื่อนไขวงเงินให้ความช่วยเหลือแก่สถาบันการเงิน (สง.) ให้ครอบคลุมธุรกรรมดังนี้

             1.1 กรณี สง. เข้าซื้อหน่วยลงทุนจากกองทุนรวมตราสารหนี้ MMF และ Daily FI ทุกกองทุน ที่ลงทุนในเงินฝากและตราสารหนี้สกุลเงินบาทหรือสกุลต่างประเทศ Investment Grade ที่มีอันดับความน่าเชื่อถือตั้งแต่ BBB- ขึ้นไป
             1.2
กรณี สง. ทำธุรกรรม repo กับ บลจ. โดยมีสินทรัพย์ของกองทุนรวม MMF หรือ Daily FI จากกองใดก็ได้ เป็นหลักประกัน
             1.3 กรณี สง. ซื้อตราสารหนี้ภาคเอกชนหรือตั๋วเงินที่เป็นหลักทรัพย์สกุลเงินบาทจากกองทุนรวมตราสารหนี้

             1.4
กรณี สง. ปล่อยสภาพคล่องให้กับลูกค้าที่ถือหน่วยลงทุนของกองทุนรวมที่ปิดกองไปแล้ว (โดยที่สถาบันการเงินไม่จำเป็นต้องเกี่ยวข้องกับ บลจ. ที่บริหารกองทุนรวมนั้น)

          2. ขยายประเภทสินทรัพย์ที่สถาบันการเงินใช้เป็นหลักประกันในการขอรับสภาพคล่องกับ ธปท. ผ่านธุรกรรม repo เป็นดังนี้
             2.1
หน่วยลงทุนของกองทุนรวมตราสารหนี้ MMF และ Daily FI ทุกกองทุน ที่ลงทุนในเงินฝากและตราสารหนี้สกุลเงินบาทหรือสกุลต่างประเทศ Investment Grade ที่มีอันดับความน่าเชื่อถือตั้งแต่ BBB- ขึ้นไป
             2.2 สินทรัพย์ List 1-2 ตาม พ.ร.บ. ธปท. มาตรา 41 เช่น ตั๋วเงินคลัง พันธบัตรรัฐบาล หรือ ตราสารหนี้ภาคเอกชนสกุลเงินบาท อันดับเครดิตไม่ต่ำกว่า A
             2.3
ตราสารหนี้ภาคเอกชนสกุลเงินบาท ที่มีอันดับความน่าเชื่อถือตั้งแต่ BBB- ขึ้นไป

          การปรับหลักเกณฑ์ครั้งนี้ เป็นไปเพื่อให้มาตรการสนับสนุนสภาพคล่องให้แก่กองทุนรวมตราสารหนี้ผ่านสถาบันการเงิน (MFLF) สามารถสร้างความเชื่อมั่นให้กับผู้ถือหน่วยลงทุนอย่างต่อเนื่อง หลีกเลี่ยงมิให้เกิดผลกระทบรุนแรงต่อเศรษฐกิจ และรักษาเสถียรภาพของระบบการเงินโดยรวมภายใต้สถานการณ์ที่สภาพคล่องในตลาดตราสารหนี้ตึงตัวและกลไกตลาดการเงินทำงานต่างจากปกติ

          ทั้งนี้ ธปท. พร้อมพิจารณามาตรการเพิ่มเติม เพื่อให้มั่นใจว่าตลาดการเงินจะกลับมาทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ และรักษาความสามารถของตลาดการเงินในการเป็นช่องทางการระดมทุนให้กับภาคเศรษฐกิจ และดำรงไว้ซึ่งเสถียรภาพระบบการเงินของประเทศ 

ธนาคารแห่งประเทศไทย
30 มีนาคม 2563

ข้อมูลเพิ่มเติม: ฝ่ายตลาดการเงิน
โทรศัพท์ 0-2356-7529 ถึง 7531
02-356-7437
02-356-7255
E-mail: MOSTeam@bot.or.th

>>​Download​​ PDF

Share
Tweet
Share
Tweet
เกี่ยวกับ ธปท.
  • บทบาทหน้าที่และประวัติ
  • การกำกับดูแลกิจการที่ดี
  • ธปท. กับบทบาทการพัฒนาอย่างยั่งยืน
  • ความร่วมมือระหว่างประเทศ
  • กฎหมาย/กฎเกณฑ์
  • ผังโครงสร้างองค์กร
  • คณะกรรมการ
  • รายงานทางการเงิน
  • รายงานประจำปี ธปท.
  • ธนบัตร
  • มูลนิธิ 50 ปี ธปท.
  • สมัครงานและทุน
  • พิพิธภัณฑ์และแหล่งเรียนรู้
  • ศคง. 1213
  • งานและกิจกรรม
นโยบายการเงิน
  • คณะกรรมการ กนง.
  • เป้าหมายของนโยบายการเงิน
  • กำหนดการประชุม
  • ผลการประชุม กนง.
  • เอกสารเผยแพร่ของ กนง.
  • ความรู้เรื่องนโยบายการเงิน
  • ภาวะเศรษฐกิจไทย
  • เศรษฐกิจภูมิภาค
  • งานวิจัยและสัมมนาวิชาการ
สถาบันการเงิน
  • คณะกรรมการ กนส.
  • โครงสร้างระบบ สง. ไทย
  • บทบาทของ ธปท. ด้าน สง.
  • การกำหนดนโยบาย สง.
  • การกำกับตรวจสอบ สง.
  • ความร่วมมือกับผู้กำกับดูแลอื่น
  • ธุรกิจการเงินที่ ธปท. กำกับดูแล​​​​
  • มุมสถาบันการเงิน
  • การธนาคารเพื่อความยั่งยืน
  • โครงการพัฒนา Digital Factoring Ecosystem
  • โครงการ API Standard
ตลาดการเงิน
  • การดำเนินนโยบายการเงิน
  • การบริหารเงินสำรอง
  • การพัฒนาตลาดการเงิน
  • ตลาดเงินตราต่างประเทศ
  • หลักเกณฑ์การแลกเปลี่ยนเงิน
  • การลงทุนโดยตรง ตปท.
  • อัตราดอกเบี้ยอ้างอิงและแนวทางรองรับการยุติการใช้ LIBOR
  • โครงการลงทะเบียนแสดงตัวตนของผู้ลงทุนตราสารหนี้ในประเทศไทย (BIR)
ระบบการชำระเงิน
  • คณะกรรมการ กรช.
  • นโยบายการชำระเงิน
  • การกำกับดูแลระบบการชำระเงิน
  • การกำกับตาม พ.ร.บ. ระบบการชำระเงิน 2560
  • บริการระบบการชำระเงิน
  • แนวนโยบาย/แนวปฏิบัติ /มาตรฐานระบบการชำระเงิน
  • ระเบียบ/ประกาศระบบการชำระเงิน
  • เทคโนโลยีทางการเงิน
  • การชำระเงินกับต่างประเทศ
สถิติ
  • สถิติตลาดการเงิน
  • สถิติเศรษฐกิจการเงิน
  • สถิติสถาบันการเงิน
  • สถิติระบบการชำระเงิน
  • สถิติเศรษฐกิจการเงินภูมิภาค
  • เครื่องชี้ภาวะเศรษฐกิจสำคัญ
  • แผนภูมิข้อมูลเศรษฐกิจสำคัญ
  • การรับส่งข้อมูลกับ ธปท.
  • บทความและเอกสารเผยแพร่ด้านสถิติ
  • คู่มือประชาชนด้านสถิติ
  • บริการข้อมูล BOT API
ตารางเวลาเผยแพร่
เงื่อนไขการให้บริการ
นโยบายคุ้มครอง
ข้อมูลส่วนบุคคล
เชื่อมโยง
คำถามถามบ่อย
ติดต่อ ธปท.

©2015 Bank of Thailand. All rights reserved.   ( เว็บไซต์นี้รับชมได้ดี ด้วยเว็บเบราว์เซอร์ Chrome, Safari, Firefox หรือ IE 10 ขึ้นไป )
สอบถาม/ข้อเสนอแนะ/ร้องเรียน
ลงทะเบียนรับข้อมูล/ข่าวสาร


©2015 Bank of Thailand. All rights reserved.