• EN
    • EN
  • เกี่ยวกับ ธปท.
    • บทบาทหน้าที่และประวัติ
    • การกำกับดูแลกิจการที่ดี
    • ธปท. กับบทบาทการพัฒนาอย่างยั่งยืน
    • ความร่วมมือระหว่างประเทศ
    • กฎหมาย/กฎเกณฑ์
    • ผังโครงสร้างองค์กร
    • คณะกรรมการ
    • รายงานทางการเงิน
    • รายงานประจำปี ธปท.
    • ธนบัตร
    • มูลนิธิ 50 ปี ธปท.
    • สมัครงานและทุน
    • พิพิธภัณฑ์และแหล่งเรียนรู้
    • ศคง. 1213
    • งานและกิจกรรม
  • นโยบายการเงิน
    • คณะกรรมการ กนง.
    • เป้าหมายของนโยบายการเงิน
    • กำหนดการประชุม
    • ผลการประชุม กนง.
    • เอกสารเผยแพร่ของ กนง.
    • ความรู้เรื่องนโยบายการเงิน
    • ภาวะเศรษฐกิจไทย
    • เศรษฐกิจภูมิภาค
    • งานวิจัยและสัมมนาวิชาการ
  • สถาบันการเงิน
    • คณะกรรมการ กนส.
    • โครงสร้างระบบ สง. ไทย
    • บทบาทของ ธปท. ด้าน สง.
    • การกำหนดนโยบาย สง.
    • การกำกับตรวจสอบ สง.
    • ความร่วมมือกับผู้กำกับดูแลอื่น
    • ธุรกิจการเงินที่ ธปท. กำกับดูแล​​​​
    • มุมสถาบันการเงิน
    • การธนาคารเพื่อความยั่งยืน
    • โครงการพัฒนา Digital Factoring Ecosystem
    • โครงการ API Standard
  • ตลาดการเงิน
    • การดำเนินนโยบายการเงิน
    • การบริหารเงินสำรอง
    • การพัฒนาตลาดการเงิน
    • ตลาดเงินตราต่างประเทศ
    • หลักเกณฑ์การแลกเปลี่ยนเงิน
    • การลงทุนโดยตรง ตปท.
    • อัตราดอกเบี้ยอ้างอิงและแนวทางรองรับการยุติการใช้ LIBOR
    • โครงการลงทะเบียนแสดงตัวตนของผู้ลงทุนตราสารหนี้ในประเทศไทย (BIR)
  • ระบบการชำระเงิน
    • คณะกรรมการ กรช.
    • นโยบายการชำระเงิน
    • การกำกับดูแลระบบการชำระเงิน
    • การกำกับตาม พ.ร.บ. ระบบการชำระเงิน 2560
    • บริการระบบการชำระเงิน
    • แนวนโยบาย/แนวปฏิบัติ /มาตรฐานระบบการชำระเงิน
    • ระเบียบ/ประกาศระบบการชำระเงิน
    • เทคโนโลยีทางการเงิน
    • การชำระเงินกับต่างประเทศ
  • วิจัยและสัมมนา
    • งานวิจัย
    • งานสัมมนา
    • สถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย ​อึ๊งภากรณ์
  • สถิติ
    • สถิติตลาดการเงิน
    • สถิติเศรษฐกิจการเงิน
    • สถิติสถาบันการเงิน
    • สถิติระบบการชำระเงิน
    • สถิติเศรษฐกิจการเงินภูมิภาค
    • เครื่องชี้ภาวะเศรษฐกิจสำคัญ
    • แผนภูมิข้อมูลเศรษฐกิจสำคัญ
    • การรับส่งข้อมูลกับ ธปท.
    • บทความและเอกสารเผยแพร่ด้านสถิติ
    • คู่มือประชาชนด้านสถิติ
    • บริการข้อมูล BOT API

  • หน้าหลัก
  • > ตลาดการเงิน
  • > การลงทุนโดยตรง ตปท.
  • > ระเบียบและข้อกฏหมายที่เกี่ยวกับการลงทุนต่างประเทศ
ตลาดการเงิน
ตลาดการเงิน
  • การดำเนินนโยบายการเงิน
    • การดำรงสินทรัพย์สภาพคล่อง
    • การออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย
    • ธุรกรรมซื้อคืนพันธบัตรแบบทวิภาคี
    • ธุรกรรมซื้อหรือขายขาดตราสารหนี้ภาครัฐ
    • สวอปเงินตราต่างประเทศ
    • ธุรกรรมรับฝากเงิน ณ สิ้นวัน
    • ธุรกรรมให้กู้ยืมสภาพคล่อง ณ สิ้นวัน
    • ธุรกรรมการยืมตราสารหนี้
    • ​​​​การกู้ยืมเงินจาก ธปท. ด้วยวิธีขายสินทรัพย์​หลักประกัน
    • ธุรกรรมด้านตลาดการเงินเพื่อการบริหารสภาพคล่อง ในกรณี BAHTNET Offline
    • การสนับสนุนสภาพคล่องให้กับสถาบันการเงินที่ให้ความช่วยเหลือแก่กองทุนรวมตราสารหนี้
  • การพัฒนาตลาดการเงิน
    • วัตถุประสงค์ของการพัฒนาตลาดการเงิน
    • โครงสร้างตลาดการเงินไทย
    • บทบาทของ ธปท. ในการพัฒนาตลาดการเงิน
    • เอกสารเผยแพร่
  • การบริหารเงินสำรอง
    • เงินสำรองทางการของประเทศ
    • การกำกับดูแลการบริหารเงินสำรองทางการ
    • การบริหารเงินสำรองทางการ
  • ตลาดเงินตราต่างประเทศ
    • ​แนวปฏิบัติ FX Global Code
    • การบริหารความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน
    • บทความที่น่าสนใจ
  • หลักเกณฑ์การแลกเปลี่ยนเงิน
    • กฏหมายควบคุมการแลกเปลี่ยนเงิน
    • ธุรกิจปัจจัยชำระเงินต่างประเทศ
    • มาตรการป้องปรามการเก็งกำไรค่าเงินบาท
    • การลงทุนต่างประเทศสำหรับผู้ลงทุนรายย่อย
    • 7 ข้อเท็จจริงเรื่องค่าเงินบาท และการปรับตัวภายใต้ความผันผวนของเศรษฐกิจโลก
    • การขออนุญาตและส่งรายงานข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
    • แบบรายงาน
    • คู่มือประชาชน/ เอกสารเผยแพร่และชี้แจง
    • ติดต่อเจ้าหน้าที่
    • FAQs
  • การลงทุนโดยตรง ตปท.
    • เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการลงทุนโดยตรงในต่างประเทศ
    • ระเบียบและข้อกฏหมายที่เกี่ยวกับการลงทุนต่างประเทศ
    • บทความ งานศึกษา ที่น่าสนใจ
    • ข้อมูลเกี่ยวข้องกับการลงทุนโดยตรงในต่างประเทศ
    • เรื่องอื่น ๆ ที่น่าสนใจ
    • หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการลงทุนในต่างประเทศ
  • อัตราดอกเบี้ยอ้างอิงและแนวทางรองรับการยุติการใช้ LIBOR
  • โครงการลงทะเบียนแสดงตัวตนของผู้ลงทุนตราสารหนี้ในประเทศไทย (BIR)

​​ระเบียบและข้อกฎหมายที่เกี่ยวกับการลงทุนต่างประเทศ


​​​กฎหมายควบคุมการแลกเปลี่ยนเงิน

          ประกอบด้วย พระราชบัญญัติควบคุมการแลกเปลี่ยนเงิน พุทธศักราช 2485 กฎกระทรวง ประกาศกระทรวงการคลัง ประกาศเจ้าพนักงานควบคุมการแลกเปลี่ยนเงิน  และหนังสือเวียนหรือคำสั่งเจ้าพนักงานควบคุมการแลกเปลี่ยนเงิน

โดยมีวัตถุประสงค์หลักคือ 

               1) เพื่อรวบรวมเงินตราต่างประเทศไว้ในแหล่งกลาง 

               2) เพื่อควบคุมการใช้จ่ายเงินตราต่างประเทศให้เป็นไปในทิศทางที่เป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม 

               3) เพื่อป้องกันการโอนทุนออกนอกประเทศ 

               4) เพื่อรักษาค่าภายนอกของเงินบาท หรืออัตราแลกเปลี่ยนไว้ให้มั่นคง

          ทั้งนี้ กฎหมายควบคุมการแลกเปลี่ยนเงินในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการลงทุนโดยตรง มีดังนี้​

    ​ศูนย์บริหารเงิน (Treasury Center – TC)

              ศูนย์บริหารเงิน เป็นทางเลือกหนึ่งที่น่าสนใจของบริษัทไทยที่มีเครือข่ายธุรกิจระหว่างประเทศ หรือบริษัทข้ามชาติ (Multi-National Corporation : MNC) ในการบริหารจัดการรายได้ ค่าใช้จ่าย และธุรกรรมอื่น ๆ ที่เป็นเงินตราต่างประเทศ โดยศูนย์บริหารเงินสามารถทำหน้าที่แทนบริษัทในกลุ่มในแง่ของ 1) การเป็นตัวแทนของกลุ่มบริษัทในการรับจ่ายค่าสินค้าบริการระหว่างประเทศ 2) การหักกลบลบหนี้กับคู่ค้าในต่างประเทศ 3) การบริหารความเสี่ยงที่เกิดจากอัตราแลกเปลี่ยน โดยให้กลุ่มบริษัทซื้อขายเงินตราต่างประเทศกับศูนย์บริหารเงินแทนการซื้อขายกับสถาบันการเงิน ตลอดจน 4) การบริหารสภาพคล่องให้กับกลุ่มบริษัท เช่น การกู้ยืมเงินตราต่างประเทศจากบริษัทในกลุ่มที่มีสภาพคล่องส่วนเกินไปให้กู้กับบริษัทในกลุ่มที่ขาดสภาพคล่อง

              ทั้งนี้ ศูนย์บริหารเงินต้องจัดทำรายงานมายัง ธปท. ตามที่กำหนด โดยสามารถศึกษาระเบียบหลักเกณฑ์การประกอบธุรกิจศูนย์บริหารเงินตามรายละเอียด ดังนี้

    ระเบียบที่เกี่ยวข้อง
    ​ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่องคำสั่งรัฐมนตรีให้ไว้แก่ศูนย์บริหารเงิน (ฉบับที่ 2) ลงวันที่ 14 พฤษภาคม 2553​ 
    ​ประกาศเจ้าพนักงานควบคุมการแลกเปลี่ยนเงิน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับศูนย์บริหารเงิน ลงวันที่ 11 มิถุนายน 2553  
    หนังสือเวียนที่ ฝกช.(23) ว.5/2553 เรื่องการปรับปรุงหลักเกณฑ์และวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจศูนย์บริหารเงิน ลงวันที่ 11 มิถุนายน 2553​
    รายงานการประกอบธุรกิจศูนย์บริหารเงิน​​

    ​บัญชีเงินฝากเงินตราต่างประเทศ (Foreign Currency Deposit - FCD)

       นิติบุคคลหรือบุคคลธรรมดาสามารถฝากเงินตราต่างประเทศในประเทศได้ โดย

     ​​     หากเป็นแหล่งเงินได้จากต่างประเทศสามารถฝากได้โดยไม่จำกัดวงเงิน

          หากเป็นแหล่งเงินได้ในประเทศกรณีมีภาระสามารถฝากได้ตามจำนวนภาระผูกพัน สำหรับกรณีไม่มีภาระให้มียอดคงค้าง 
          ณ สิ้นวันไม่เกิน USD 5 ล้านหรือเทียบเท่าอัตราตลาด

    ​​​​

    ​
    ระเบียบที่เกี่ยวข้อง
    ​ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่องคำสั่งรัฐมนตรีให้ไว้แก่นิติบุคคลรับอนุญาต (ฉบับที่ 9) ลงวันที่ 28 พฤษภาคม 2556  (ข้อ 5)​
    ประกาศเจ้าพนักงานควบคุมการแลกเปลี่ยนเงิน เรื่องการกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับ การแลกเปลี่ยนเงิน (ฉบับ 22) ลงวันที่ 24 มิถุนายน 2558 (ข้อ 3)​​

    ​การลงทุนในอสังหาริมทรัพย์

              การซื้อหรือแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศเพื่อวัตถุประสงค์สำหรับการซื้ออสังหาริมทรัพย์ สามารถทำได้เป็นจำนวนไม่เกินปีละ USD 50 ล้านหรือเทียบเท่าตามอัตราตลาดต่อราย​

    ระเบียบที่เกี่ยวข้อง
    ​​ประกาศเจ้าพนักงาน​ควบคุมการแลกเปลี่ยนเงิน เรื่องการกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับ การแลกเปลี่ยนเงิน (ฉบับ 22) ลงวันที่ 24 มิถุนายน 2558 (ข้อ 1(5))

    ​การบริหารความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน

              ผู้ประกอบธุรกิจสามารถทำธุรกรรมอนุพันธ์เพื่อป้องกันความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน เพื่อค่าสินค้าบริการ และการลงทุนระหว่างประเทศได้ตามระเบียบที่กำหนด หรือธุรกิจสามารถบริหารความเสี่ยงผ่านช่องทางการใช้สัญญา Currency Future ได้อีกช่องทางหนึ่ง โดยมีระเบียบที่เกี่ยวข้องกับการบริหารความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนดังนี้ 

    ระเบียบที่เกี่ยวข้อง
    ​​​​​​หนังสือเวียนที่ ฝกช.(23) ว.25/2552 เรื่อง การทำธุรกรรมอนุพันธ์ที่อ้างอิงอัตราแลกเปลี่ยน ลงวันที่ 4 สิงหาคม 2552​ 
    ​​​​หนังสือเวียนที่ ฝกช.(23) ว.4/2553 เรื่อง การผ่อนคลายเกี่ยวกับการทำธุรกรรมอนุพันธ์ที่อ้างอิง อัตราแลกเปลี่ยน ลงวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2553​​
    ​​ระเบียบเกี่ยวกับสัญญา Currency futures ตามระเบียบ TFEX​

    ​การลงทุนในหลักทรัพย์

    ​ผู้ลงทุนสถาบัน ได้แก่ กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ กองทุนประกันสังคม กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ 
    กองทุนรวม (ไม่รวมกองทุนส่วนบุคคล) บริษัทหลักทรัพย ์ บริษัทประกันชีวิตและประกันวินาศภัย สถาบันการเงินที่มีกฎหมายเฉพาะจัดตั้ง นิติบุคคลไทยที่มีสินทรัพย์ตั้งแต่ 5,000 ล้านบาท บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และผู้ประกอบธุรกิจสัญญาซื้อขายล่วงหน้า ตามพระราชบัญญัติซื้อขายล่วงหน้าพุทธศักราช 2546 และที่แก้ไขเพิ่มเติม สามารถลงทุนในหลักทรัพย์ในต่างประเทศได้ ดังนี้
     ​​​  หลักทรัพย์ต่างประเทศซึ่งออกโดยนิติบุคคลไทย : ลงทุนได้ไม่จำกัดจำนวน
       ห​​ลักทรัพย์ต่างประเทศ : ลงทุนลงทุนได้ไม่จำกัดจำนวน
    ทั้งนี้ ต้องไม่เกินวงเงินที่หน่วยงานที่กำกับดูแลผู้ลงทุนและคณะกรรมการหรือผู้มีอำนาจบริหารของผู้ลงทุนกำหนด​
    ​​​ตัวแทนการลงทุน ได้แก่ บริษัทหลักทรัพย์ตามพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พุทธศักราช 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ที่สามารถให้บริการซื้อขายหลักทรัพย์ได้ทุกประเภท  และให้บริการจัดการกองทุนส่วนบุคคล  นิติบุคคลรับอนุญาต  บริษัทหลักทรัพย์ที่สามารถให้บริการซื้อขายหลักทรัพย์ประเภทตราสารหนี้และศุกูก บริษัทหลักทรัพย์ที่สามารถให้บริการซื้อขายหลักทรัพย์ประเภทหน่วยลงทุน

    ทั้งนี้ตัวแทนการลงทุน ได้แก่ บริษัทหลักทรัพย์ที่สามารถให้บริการซื้อขายหลักทรัพย์ประเภทตราสารหนี้และศุกูก และ บริษัทหลักทรัพย์ที่สามารถให้บริการซื้อขายหลักทรัพย์ประเภทหน่วยลงทุน ให้สามารถเป็นตัวแทนการลงทุนเฉพาะสำหรับตราสารในต่างประเทศที่ออกและจำหน่ายในประเทศ หรือออกในต่างประเทศ เท่านั้น
    ผู้ลงทุนรายย่อยสามารถลงทุนในตราสารต่างประเทศและอนุพันธ์ ซึ่งรวมถึงตราสารหนี้สกุลเงินตราต่างประเทศที่ออกขายในประเทศได้ตามจำนวนที่ได้รับจัดสรรจาก ก.ล.ต. โดยต้องซื้อขายผ่านตัวแทนการลงทุนในประเทศ ซึ่งได้แก่ บริษัทหลักทรัพย์ หรือกองทุนส่วนบุคคลเท่านั้น
    ให้นักลงทุน​สถาบันทุกประเภท รวมถึงรายย่อย สามารถยกเลิกหรือไม่ต่ออายุสัญญาป้องกันความเสี่ยงอัตราแลกเปลี่ยนจากการลงทุนในหลักทรัพย์ต่างประเทศได้ทุกกรณี
     ​

    ระเบียบที่เกี่ยวข้อง
    ​​​​​​ประกาศเจ้าพนักงานควบคุมการแลกเปลี่ยนเงิน เรื่อง ประกาศเจ้าพนักงานควบคุมการแลกเปลี่ยนเงิน เรื่อง การกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับการลงทุนในตราสารในต่างประเทศ และอนุพันธ์​
    ​​​ประกาศเจ้าพนักงานควบคุมการแลกเปลี่ยนเงิน ประกาศเจ้าพนักงานควบคุมการแลกเปลี่ยนเงิน เรื่อง การกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับการลงทุนในตราสารในต่างประเทศ และอนุพันธ์  ของบุคคลรายย่อย

    ​

    ​การลงทุนโดยตรง / ลงทุนในกิจการในเครือที่ต่างประเทศ / ให้กู้ยืม 

              นิติบุคคลและบุคคลธรรมดาที่ลงทุนหรือให้กู้ยืมแก่กิจการในต่างประเทศโดย 1) มีสัดส่วนการถือหุ้นในกิจการนั้นตั้งแต่ร้อยละ 10 ขึ้นไป หรือ  2) เป็นกิจการในเครือ สามารถทำได้โดยไม่จำกัดวงเงิน 

              สำหรับการลงทุนหรือให้กู้กรณีอื่น ๆ เช่น ลงทุนในกิจการในต่างประเทศที่ไม่ใช่บริษัทในเครือ จะต้องทำการขออนุญาตจากเจ้าพนักงานควบคุมการแลกเปลี่ยนเงิน (จพง.) หรือเป็นไปตามวงเงินที่กำหนด 

              นอกจากนี้ ผู้ลงทุนหรือให้กู้ยืมตั้งแต่ 10 ล้านดอลลาร์ สรอ. ต่อปีต้องแจ้งความประสงค์การลงทุนหรือให้กู้ยืมมายัง จพง. ตามที่กำหนด

     ​​

    ระเบียบที่เกี่ยวข้อง

    ​​ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่องคำสั่งรัฐมนตรีให้ไว้แก่นิติบุคคลรับอนุญาต (ฉบับที่ 9) ลงวันที่ 28 พฤษภาคม 2556 (ข้อ 2)​​
           
    ​​ประกาศเจ้าพนักงานควบคุมการแลกเปลี่ยน​เงิน เรื่องการกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับการแลกเปลี่ยนเงิน  (ฉบับ 21) ลงวันที่ 25 มิถุนายน 2556 (ข้อ 2)
    วิธีปฏิบัติในการแจ้งความประสงค์ในการลงทุนหรือให้กู้ยืม ตามหนังสือเวียนที่ ฝกช.(23)ว.7/2553 ลงวันที่ 5 ตุลาคม 2553 เรื่องการผ่อนคลายการควบคุมการแลกเปลี่ยนเงินเพิ่มเติม​
             

    ​

     

    กฎหมายและระเบียบอื่นที่เกี่ยวข้อง
    สนธิสัญญาภาษีซ้อน (Double Tax Agreement - DTA)
    พระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากรว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร (ฉบับที่ 442) พ.ศ. 2548
    ภาษีที่เกี่ยวข้องกับการลงทุนในตราสารทุน
    ภาษีที่เกี่ยวข้องกับการลงทุนในตราสารหนี้
    มาตรการสนับสนุนภาครัฐและความรู้เกี่ยวกับภาษีการลงทุนในต่างประเทศ
    สิทธิประโยชน์ทางภาษีสำหรับธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs)
    มาตรการภาษีเพื่อสนับสนุนสำนักงานปฏิบัติการภูมิภาค (Regional Operating Headquarter - ROH)
    มาตรการภาษีเพื่อส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี
    ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา (Personal Income Tax)
    ภาษีเงินได้นิติบุคคล (Corporate Income Tax)
    ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย (Withholding Tax)
    ภาษีมูลค่าเพิ่ม (Value Added Tax)
    ภาษีธุรกิจเฉพาะ (Special Business Tax)
    Share
    Tweet
    Share
    Tweet
    เกี่ยวกับ ธปท.
    • บทบาทหน้าที่และประวัติ
    • การกำกับดูแลกิจการที่ดี
    • ธปท. กับบทบาทการพัฒนาอย่างยั่งยืน
    • ความร่วมมือระหว่างประเทศ
    • กฎหมาย/กฎเกณฑ์
    • ผังโครงสร้างองค์กร
    • คณะกรรมการ
    • รายงานทางการเงิน
    • รายงานประจำปี ธปท.
    • ธนบัตร
    • มูลนิธิ 50 ปี ธปท.
    • สมัครงานและทุน
    • พิพิธภัณฑ์และแหล่งเรียนรู้
    • ศคง. 1213
    • งานและกิจกรรม
    นโยบายการเงิน
    • คณะกรรมการ กนง.
    • เป้าหมายของนโยบายการเงิน
    • กำหนดการประชุม
    • ผลการประชุม กนง.
    • เอกสารเผยแพร่ของ กนง.
    • ความรู้เรื่องนโยบายการเงิน
    • ภาวะเศรษฐกิจไทย
    • เศรษฐกิจภูมิภาค
    • งานวิจัยและสัมมนาวิชาการ
    สถาบันการเงิน
    • คณะกรรมการ กนส.
    • โครงสร้างระบบ สง. ไทย
    • บทบาทของ ธปท. ด้าน สง.
    • การกำหนดนโยบาย สง.
    • การกำกับตรวจสอบ สง.
    • ความร่วมมือกับผู้กำกับดูแลอื่น
    • ธุรกิจการเงินที่ ธปท. กำกับดูแล​​​​
    • มุมสถาบันการเงิน
    • การธนาคารเพื่อความยั่งยืน
    • โครงการพัฒนา Digital Factoring Ecosystem
    • โครงการ API Standard
    ตลาดการเงิน
    • การดำเนินนโยบายการเงิน
    • การบริหารเงินสำรอง
    • การพัฒนาตลาดการเงิน
    • ตลาดเงินตราต่างประเทศ
    • หลักเกณฑ์การแลกเปลี่ยนเงิน
    • การลงทุนโดยตรง ตปท.
    • อัตราดอกเบี้ยอ้างอิงและแนวทางรองรับการยุติการใช้ LIBOR
    • โครงการลงทะเบียนแสดงตัวตนของผู้ลงทุนตราสารหนี้ในประเทศไทย (BIR)
    ระบบการชำระเงิน
    • คณะกรรมการ กรช.
    • นโยบายการชำระเงิน
    • การกำกับดูแลระบบการชำระเงิน
    • การกำกับตาม พ.ร.บ. ระบบการชำระเงิน 2560
    • บริการระบบการชำระเงิน
    • แนวนโยบาย/แนวปฏิบัติ /มาตรฐานระบบการชำระเงิน
    • ระเบียบ/ประกาศระบบการชำระเงิน
    • เทคโนโลยีทางการเงิน
    • การชำระเงินกับต่างประเทศ
    สถิติ
    • สถิติตลาดการเงิน
    • สถิติเศรษฐกิจการเงิน
    • สถิติสถาบันการเงิน
    • สถิติระบบการชำระเงิน
    • สถิติเศรษฐกิจการเงินภูมิภาค
    • เครื่องชี้ภาวะเศรษฐกิจสำคัญ
    • แผนภูมิข้อมูลเศรษฐกิจสำคัญ
    • การรับส่งข้อมูลกับ ธปท.
    • บทความและเอกสารเผยแพร่ด้านสถิติ
    • คู่มือประชาชนด้านสถิติ
    • บริการข้อมูล BOT API
    ตารางเวลาเผยแพร่
    เงื่อนไขการให้บริการ
    นโยบายคุ้มครอง
    ข้อมูลส่วนบุคคล
    เชื่อมโยง
    คำถามถามบ่อย
    ติดต่อ ธปท.

    ©2015 Bank of Thailand. All rights reserved.   ( เว็บไซต์นี้รับชมได้ดี ด้วยเว็บเบราว์เซอร์ Chrome, Safari, Firefox หรือ IE 10 ขึ้นไป )
    สอบถาม/ข้อเสนอแนะ/ร้องเรียน
    ลงทะเบียนรับข้อมูล/ข่าวสาร

    ผู้จัดการบริการ
    จิระพล โทร 0-2283-5122
    ภาวินี โทร 0-2283-5154

    ©2015 Bank of Thailand. All rights reserved.