• EN
    • EN
  • เกี่ยวกับ ธปท.
    • บทบาทหน้าที่และประวัติ
    • การกำกับดูแลกิจการที่ดี
    • ธปท. กับบทบาทการพัฒนาอย่างยั่งยืน
    • ความร่วมมือระหว่างประเทศ
    • กฎหมาย/กฎเกณฑ์
    • ผังโครงสร้างองค์กร
    • คณะกรรมการ
    • รายงานทางการเงิน
    • รายงานประจำปี ธปท.
    • ธนบัตร
    • มูลนิธิ 50 ปี ธปท.
    • สมัครงานและทุน
    • พิพิธภัณฑ์และแหล่งเรียนรู้
    • ศคง. 1213
    • งานและกิจกรรม
  • นโยบายการเงิน
    • คณะกรรมการ กนง.
    • เป้าหมายของนโยบายการเงิน
    • กำหนดการประชุม
    • ผลการประชุม กนง.
    • เอกสารเผยแพร่ของ กนง.
    • ความรู้เรื่องนโยบายการเงิน
    • ภาวะเศรษฐกิจไทย
    • เศรษฐกิจภูมิภาค
    • งานวิจัยและสัมมนาวิชาการ
  • สถาบันการเงิน
    • คณะกรรมการ กนส.
    • โครงสร้างระบบ สง. ไทย
    • บทบาทของ ธปท. ด้าน สง.
    • การกำหนดนโยบาย สง.
    • การกำกับตรวจสอบ สง.
    • ความร่วมมือกับผู้กำกับดูแลอื่น
    • ธุรกิจการเงินที่ ธปท. กำกับดูแล​​​​
    • มุมสถาบันการเงิน
    • การธนาคารเพื่อความยั่งยืน
    • โครงการพัฒนา Digital Factoring Ecosystem
    • โครงการ API Standard
  • ตลาดการเงิน
    • การดำเนินนโยบายการเงิน
    • การบริหารเงินสำรอง
    • การพัฒนาตลาดการเงิน
    • ตลาดเงินตราต่างประเทศ
    • หลักเกณฑ์การแลกเปลี่ยนเงิน
    • การลงทุนโดยตรง ตปท.
    • อัตราดอกเบี้ยอ้างอิงและแนวทางรองรับการยุติการใช้ LIBOR
    • โครงการลงทะเบียนแสดงตัวตนของผู้ลงทุนตราสารหนี้ในประเทศไทย (BIR)
  • ระบบการชำระเงิน
    • คณะกรรมการ กรช.
    • นโยบายการชำระเงิน
    • การกำกับดูแลระบบการชำระเงิน
    • การกำกับตาม พ.ร.บ. ระบบการชำระเงิน 2560
    • บริการระบบการชำระเงิน
    • แนวนโยบาย/แนวปฏิบัติ /มาตรฐานระบบการชำระเงิน
    • ระเบียบ/ประกาศระบบการชำระเงิน
    • เทคโนโลยีทางการเงิน
    • การชำระเงินกับต่างประเทศ
  • วิจัยและสัมมนา
    • งานวิจัย
    • งานสัมมนา
    • สถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย ​อึ๊งภากรณ์
  • สถิติ
    • สถิติตลาดการเงิน
    • สถิติเศรษฐกิจการเงิน
    • สถิติสถาบันการเงิน
    • สถิติระบบการชำระเงิน
    • สถิติเศรษฐกิจการเงินภูมิภาค
    • เครื่องชี้ภาวะเศรษฐกิจสำคัญ
    • แผนภูมิข้อมูลเศรษฐกิจสำคัญ
    • การรับส่งข้อมูลกับ ธปท.
    • บทความและเอกสารเผยแพร่ด้านสถิติ
    • คู่มือประชาชนด้านสถิติ
    • บริการข้อมูล BOT API

  • หน้าหลัก
  • > ระบบการชำระเงิน
  • > แนวนโยบาย/แนวปฏิบัติ /มาตรฐานระบบการชำระเงิน
ระบบการชำระเงิน
    • Eventphoto
ระบบการชำระเงิน
  • คณะกรรมการ กรช.
  • นโยบายการชำระเงิน
  • การกำกับดูแลระบบการชำระเงิน
  • การกำกับตาม พ.ร.บ. ระบบการชำระเงิน 2560
    • ประกาศที่เกี่ยวข้อง
    • รายชื่อผู้ประกอบธุรกิจ
    • คู่มือสำหรับประชาชน (พรบ ระบบการชำระเงิน)
    • การขอรับใบอนุญาตประกอบธุรกิจ e-Payment
    • ค่าธรรมเนียม
    • การประชุมชี้แจง
    • ระบบงาน e-Application
    • ถาม-ตอบ
    • สรุปเกณฑ์การรายงาน/แจ้ง/ขออนุญาต สำหรับบริการ e-Payment
  • บริการระบบการชำระเงิน
    • ระบบบาทเนต
    • ระบบการหักบัญชีเช็คด้วยภาพเช็ค
    • สมาชิกระบบการชำระเงิน
  • ระเบียบ/ประกาศระบบการชำระเงิน
    • ระบบบาทเนต
    • การดำเนินการกรณีระบบบาทเนตไม่สามารถให้บริการได้โดยสิ้นเชิง (BAHTNET Offline)
    • ระบบการหักบัญชีเช็คด้วยภาพเช็คและระบบการจัดเก็บภาพเช็ค (ICAS)
    • การให้บริการด้านการเงินด้วยวิธีอิเล็กทรอนิกส์ (EFS)
    • การรับซื้อตราสารหนี้โดยมีสัญญาว่าผู้ขายจะซื้อคืนเพื่อเป็นเงินสภาพคล่องระหว่างวัน (ILF)
    • มาตรการจัดการความเสี่ยงจากการชำระดุลพร้อมกันหลายฝ่ายในระบบบาทเนต (SRS)
    • เวลาในการให้บริการโอนเงินข้ามธนาคารผ่านบาทเนต
    • ประกาศ หนังสือเวียน ที่เกี่ยวข้องกับระบบการชำระเงิน
    • แบบพิมพ์สำหรับธนาคารสมาชิก
  • แนวนโยบาย/แนวปฏิบัติ /มาตรฐานระบบการชำระเงิน
  • เทคโนโลยีทางการเงิน
    • QR Code เพื่อการชำระเงิน
    • การจัดกิจกรรมด้านเทคโนโลยีทางการเงิน
    • การประชุมชี้แจง
    • รายชื่อผู้ให้บริการ P2P Lending ใน Sandbox
    • แนวปฏิบัติ/แนวนโยบาย/หลักเกณฑ์ด้านเทคโนโลยีทางการเงิน
    • Eventphoto
  • การชำระเงินกับต่างประเทศ
    • กัมพูชา
    • ญี่ปุ่น
    • มาเลเซีย
    • เวียดนาม
    • สิงคโปร์
    • อินโดนีเซีย

​แนวนโยบาย/แนวปฏิบัติระบบการชำระเงิน

แนวนโยบายการรู้จักและการบริหารติดตามความเสี่ยงร้านค้าสำหรับการรับชำระเงินด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ (Policy Guideline : Know Your Merchant (KYM))/_catalogs/masterpage/img/expand.png
​   
   สรุปกรอบหลักการแนวนโยบายการรู้จักและการบริหารติดตามความเสี่ยงร้านค้าสำหรับการรับชำระเงินด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์


​แนวนโยบายการรู้จักและการบริหารติดตามความเสี่ยงร้านค้าสำหรับการรับชำระเงินด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ (Policy Guideline : Know Your Merchant (KYM))

แนวปฏิบัติในการให้บริการพร้อมเพย์สำหรับบริการเงินอิเล็กทรอนิกส์ (e-Money)/_catalogs/masterpage/img/collapse.png


แนวปฏิบัติในการให้บริการพร้อมเพย์สำหรับบริการเงินอิเล็กทรอนิกส์ (e-Money)
 

/_catalogs/masterpage/img/expand.png

แนวนโยบายการใช้มาตรฐาน Thai QR Code ในธุรกรรมการชำระเงิน/_catalogs/masterpage/img/collapse.png


​ธนาคารแห่งประเทศไทย ได้กำหนดแนวนโยบายการใช้มาตรฐาน Thai QR Code ในธุรกรรมการชำระเงิน (Policy Guideline : Standardized Thai QR Code for Payment Transactions) เพื่อให้ผู้ให้บริการธุรกรรมชำระเงินในประเทศไทยใช้มาตรฐาน Thai QR Code ในการชำระเงินที่สอดคล้องกับมาตรฐานสากล เพิ่มช่องทางการชำระเงินที่สะดวกและมีต้นทุนการรับชำระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ต่ำลง เพิ่มความสะดวกและปลอดภัยในการชำระเงิน และสามารถต่อยอดนวัตกรรมทางการเงินและบริการชำระเงินสมัยใหม่ได้ในอนาคต ซึ่งประกอบด้วย 3 ส่วน ได้แก่

1) หลักการที่พึงปฏิบัติสำหรับผู้ให้บริการธุรกรรมการชำระเงิน ซึ่งประกอบด้วยการส่งเสริมให้เกิดการเปิดกว้างและการใช้งานระหว่างกันได้ (open infrastructure and interoperability) การบริหารจัดการความเสี่ยงของผู้ให้บริการ (risk management) การคุ้มครองและการให้ความรู้แก่ผู้ใช้บริการ (consumer protection and consumer education) และการพัฒนานวัตกรรมทางการเงินด้วยข้อมูลการชำระเงินและการโอนเงินผ่าน QR Code (future innovation)

2) มาตรฐาน Thai QR Code เพื่อการชำระเงินและการโอนเงิน ซึ่งเป็นมาตรฐานที่สามารถนำไปใช้งานกับผู้ให้บริการชำระเงินได้ทั้งในประเทศและต่างประเทศ เช่น การชำระเงินและโอนเงินผ่านพร้อมเพย์ การชำระเงินด้วยบัตรผ่านเครือข่ายบัตรระหว่างประเทศ (international card schemes) และเครือข่ายบัตรในประเทศ (local card schemes) ซึ่งผู้ให้บริการสามารถอ้างอิง technical specification และต้องถือปฏิบัติตาม business rules ที่เกี่ยวข้องด้วย

3) มาตรฐาน QR Code เพื่อการชำระเงินค่าสินค้าและบริการตามใบแจ้งหนี้ ซึ่งอ้างอิงตามแนวปฏิบัติในการจัดทำ Code สำหรับการชำระเงินและการโอนเงิน ลงวันที่ 31 มีนาคม 2560 โดยสามารถรองรับข้อมูลประกอบการชำระเงินอื่น เช่น ข้อมูลสำหรับการจัดทำใบเสร็จรับเงินและใบกำกับภาษี


แนวนโยบายการใช้มาตรฐาน Thai QR Code ในธุรกรรมการชำระเงิน (Policy Guideline : Standardized Thai QR Code for Payment Transactions)

​มาตรฐานระบบการชำระเงิน

มาตรฐานกลางข้อความการชำระเงิน/_catalogs/masterpage/img/collapse.png

​
ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) ร่วมกับสำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) (สพธอ.) จัดทำมาตรฐานกลางข้อความการชำระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ (National Payment Message Standard : NPMS) สำหรับการส่งข้อความการชำระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ระหว่างผู้ใช้บริการ ซึ่งเป็นผู้ประกอบการภาคเอกชนหรือหน่วยงานภาครัฐ กับสถาบันการเงิน (Corporate to Financial Institution: C to FI) โดยการกำหนดโครงสร้างและรูปแบบรายการข้อมูลของข้อความการชำระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้ในปัจจุบัน เช่น การโอนเงินระหว่างบัญชีในธนาคารเดียวกัน การโอนเงินระหว่างบัญชีข้ามธนาคารผ่านระบบชำระเงินรายย่อยครั้งละหลายรายการ (Bulk Payment) การโอนเงินระหว่างประเทศ เป็นต้น ให้อยู่ในรูปแบบและโครงสร้างเดียวกันเพื่อลดต้นทุนและเพิ่มประสิทธิภาพในการทำธุรกรรมการชำระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์โดยรวมของประเทศ โดยอ้างอิงตามมาตรฐานสากล ISO 20022 ซึ่งเป็นมาตรฐานที่ธนาคารกลางในกลุ่มประเทศอาเซียนตกลงร่วมกันว่าจะนำไปใช้เป็นมาตรฐานเชื่อมโยงระบบการชำระเงินภายในภูมิภาค

คณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (คธอ.) เห็นควรส่งเสริมให้มีการนำมาตรฐาน C to FI  ไปใช้เป็นแนวทางในการชำระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ และเป็นการยกระดับและพัฒนาการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ของประเทศ จึงได้ประกาศมาตรฐานฯ เลขที่ มธอ. 001-2555 เมื่อวันที่ 2 มกราคม 2556 สำหรับการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ระหว่างผู้ใช้บริการกับสถาบันการเงิน อย่างไรก็ดี เพื่อให้มาตรฐาน C to FI สอดคล้องตามแนวทางการใช้งานของสากล (Common Global Implementation) และตอบสนองความต้องการของภาคธุรกิจมากยิ่งขึ้น ธปท. ได้ร่วมกับ สพธอ. ปรับปรุงและพัฒนามาตรฐาน C to FI  เพิ่มเติม และ คธอ. ได้ประกาศมาตรฐานฯ (ฉบับปรับปรุง) เลขที่ มธอ. 0001-2558 ทดแทนมาตรฐานฯ เลขที่ มธอ. 001-2555 โดยประกอบด้วย 8 ข้อความ ได้แก่ ข้อความโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ ข้อความหักบัญชีเงินฝากอัตโนมัติ ข้อความรายงานสถานะคำสั่งที่เกี่ยวข้องกับการชำระเงิน ข้อความรายงานรายการโอนเงินหรือหักเงินในบัญชีเงินฝาก ข้อความแจ้งยอดคงเหลือในบัญชีเงินฝาก ข้อความแจ้งรายการโอนเงินหรือหักเงิน ข้อความโอนคืนเงินที่ได้หักบัญชีไปแล้ว และข้อความขอยกเลิกคำสั่งโอนเงินหรือหักบัญชี

นอกจากนี้ เพื่อส่งเสริมให้มีการนำมาตรฐาน C to FI ไปใช้งานโดยสามารถรองรับการรับส่งข้อความการชำระเงินระหว่างผู้ใช้บริการต้นทางกับผู้ใช้บริการปลายทางซึ่งอยู่คนละสถาบันการเงินในลักษณะ Straight Through Processing (STP) ธปท. จึงได้ร่วมกับ สพธอ. และบริษัท เนชั่นแนล ไอทีเอ็มเอ๊กซ์ จำกัด (มหาชน) (NITMX) จัดทำมาตรฐานข้อความสำหรับการชำระเงินรายย่อยครั้งละหลายรายการ (Bulk Payment) อ้างอิงตามมาตรฐาน ISO 20022 เพื่อให้เป็นมาตรฐานข้อความการชำระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ระหว่างสถาบันการเงิน (Financial Institution to Financial Institution) ซึ่ง คธอ. ได้มีประกาศมาตรฐานฯ ข้อความระหว่างสถาบันการเงินสำหรับบริการชำระเงินรายย่อยครั้งละหลายรายการ (National Payment Message Standard - FI to FI Messages for Bulk Payment) เมื่อวันที่ 7 มีนาคม 2559 เลขที่ มธอ. 10-2559 จำนวน 4 ข้อความ ได้แก่ ข้อความระหว่างสถาบันการเงินเพื่อโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ ข้อความระหว่างสถาบันการเงินเพื่อหักบัญชีเงินฝากอัตโนมัติ ข้อความระหว่างสถาบันการเงินเพื่อรายงานสถานะคำสั่งที่เกี่ยวข้องกับการชำระเงิน และข้อความระหว่างสถาบันการเงินเพื่อโอนคืนเงินที่ได้ชำระดุลไปแล้ว


ประกาศคณะกรรมการธุรกรรมฯ เรื่อง มาตรฐานกลางข้อความการชำระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ ข้อความระหว่างสถาบันการเงินสำหรับบริการชำระเงินรายย่อยครั้งละหลายรายการ ประกาศ ณ วันที่ 7 มีนาคม พ.ศ. 2559

ประกาศคณะกรรมการธุรกรรม เรื่อง มาตรฐานกลางข้อความการชำระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ ประกาศ ณ วันที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2558 (ฉบับปรับปรุง มธอ. 001-2558)

ประกาศคณะกรรมการธุรกรรม เรื่อง มาตรฐานกลางข้อความการชำระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ ประกาศ ณ วันที่ 2 มกราคม พ.ศ. 2556 ​

รหัสแท่งมาตรฐาน/_catalogs/masterpage/img/collapse.png
​ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) และคณะอนุกรรมการความร่วมมือเพื่อการชำระเงินแห่งชาติ (อชช.) ซึ่งประกอบด้วย ธนาคารพาณิชย์ และบริษัทไปรษณีย์ไทย จำกัด ร่วมกับหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน ได้ร่วมกันกำหนดบาร์โค้ดมาตรฐานสำหรับการชำระเงินที่ใช้บนเอกสารการชำระเงินต่าง ๆ เช่น ใบแจ้งหนี้ค่าไฟฟ้า น้ำประปา โทรศัพท์ ซึ่งประกอบด้วยข้อมูลที่เป็นประโยชน์ในการชำระเงินตามจุดรับชำระเงินทั้งภาครัฐและภาคเอกชนรวมทั้งธนาคาร โดยเป็นบาร์โค้ดที่พิมพ์ด้วย Code 128 ความยาวไม่เกิน 62 หลัก และสูงไม่น้อยกว่า 1 เซนติเมตร

 
ประโยชน์ที่ได้รับ

 
เพิ่มประสิทธิภาพในการชำระเงิน 
ลดภาระและค่าใช้จ่ายในการพิมพ์บาร์โค้ด 
รองรับการชำระเงินด้วยเทคโนโลยีใหม่ ๆ เช่น การชำระเงินผ่านเครื่อง ATM เป็นต้น​
SampleBarcode.bmp

ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง

ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย เรื่อง รหัสแท่งมาตรฐานสำหรับการชำระเงิน (Payment Barcode Standard)​

มาตรฐานเช็ค/_catalogs/masterpage/img/collapse.png
​

ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) ได้ปรับปรุงมาตรฐานเช็คฉบับใหม่ขึ้นมา เพื่อให้ธนาคารสมาชิกตลอดจนผู้เกี่ยวข้องที่มีส่วนร่วมในการจัดทำหรือพิมพ์เช็ค ได้ดำเนินการไปในทิศทางเดียวกัน และสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการปรับปรุงมาตรฐานเช็ค

มาตรฐานเช็คและเอกสารประกอบในระบบการหักบัญชีเช็คอิเล็กทรอนิกส์ระหว่างธนาคารที่กำหนดขึ้นนี้ เป็นแนวทางและข้อปฏิบัติเกี่ยวกับองค์ประกอบที่สำคัญของเช็คและเอกสารประกอบอื่นๆ ที่จำเป็นต้องจัดทำหรือพิมพ์ให้เป็นไปตามขอบเขตและข้อจำกัดที่กำหนดไว้ เพื่อให้การใช้เช็คในระบบเป็นมาตรฐานเดียวกันทั้งระบบ สามารถดำเนินการได้อย่างราบรื่นไม่ติดขัด มีประสิทธิภาพมากขึ้น และเพื่อเป็นการเตรียมการรองรับการพัฒนาระบบการหักบัญชีเช็คด้วยภาพเช็ค (Imaged Cheque Clearing System) อันเป็นประโยชน์โดยตรงต่อระบบการเรียกเก็บเงินตามเช็คของธนาคารและลูกค้าประชาชนผู้ใช้บริการ รวมทั้งระบบเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศ

วัตถุประสงค์สำคัญของการกำหนดมาตรฐานเช็คและเอกสารประกอบ กล่าวคือ

  1. เพื่อให้ผู้เกี่ยวข้องมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการออกแบบเช็ค การจัดทำ
    Code Line การใช้เช็ค และเอกสารประกอบอื่นๆ ที่ใช้ร่วมกับเช็ค ให้สามารถนำไปปฏิบัติได้อย่างถูกต้องเป็นมาตรฐานเดียวกัน ไม่สร้างปัญหาและเป็นอุปสรรคกับกระบวนการ และขั้นตอนงานในระบบการหักบัญชีเช็คระหว่างธนาคาร

  2. เพื่อให้เช็คซึ่งพิมพ์ด้วยหมึกแม่เหล็ก (Magnetic Ink Character Recognition E13B) สามารถอ่านด้วยเครื่องอ่านและคัดแยกเช็คได้อย่างถูกต้องแม่นยำและรวดเร็ว

  3. เพื่อเตรียมการรองรับการพัฒนาระบบการหักบัญชีเช็คด้วยภาพเช็ค (Imaged Cheque Clearing System) ซึ่งเป็นการแลกเปลี่ยนภาพเช็คในกระบวนการเรียกเก็บแทน
    ตัวเช็ค ให้เป็นรากฐานที่สำคัญในการพัฒนาและขยายขอบเขตการให้บริการเรียกเก็บเงินตามเช็คทั่วประเทศ

ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง

มาตรฐานเช็ค

 

Share
Tweet
Share
Tweet
เกี่ยวกับ ธปท.
  • บทบาทหน้าที่และประวัติ
  • การกำกับดูแลกิจการที่ดี
  • ธปท. กับบทบาทการพัฒนาอย่างยั่งยืน
  • ความร่วมมือระหว่างประเทศ
  • กฎหมาย/กฎเกณฑ์
  • ผังโครงสร้างองค์กร
  • คณะกรรมการ
  • รายงานทางการเงิน
  • รายงานประจำปี ธปท.
  • ธนบัตร
  • มูลนิธิ 50 ปี ธปท.
  • สมัครงานและทุน
  • พิพิธภัณฑ์และแหล่งเรียนรู้
  • ศคง. 1213
  • งานและกิจกรรม
นโยบายการเงิน
  • คณะกรรมการ กนง.
  • เป้าหมายของนโยบายการเงิน
  • กำหนดการประชุม
  • ผลการประชุม กนง.
  • เอกสารเผยแพร่ของ กนง.
  • ความรู้เรื่องนโยบายการเงิน
  • ภาวะเศรษฐกิจไทย
  • เศรษฐกิจภูมิภาค
  • งานวิจัยและสัมมนาวิชาการ
สถาบันการเงิน
  • คณะกรรมการ กนส.
  • โครงสร้างระบบ สง. ไทย
  • บทบาทของ ธปท. ด้าน สง.
  • การกำหนดนโยบาย สง.
  • การกำกับตรวจสอบ สง.
  • ความร่วมมือกับผู้กำกับดูแลอื่น
  • ธุรกิจการเงินที่ ธปท. กำกับดูแล​​​​
  • มุมสถาบันการเงิน
  • การธนาคารเพื่อความยั่งยืน
  • โครงการพัฒนา Digital Factoring Ecosystem
  • โครงการ API Standard
ตลาดการเงิน
  • การดำเนินนโยบายการเงิน
  • การบริหารเงินสำรอง
  • การพัฒนาตลาดการเงิน
  • ตลาดเงินตราต่างประเทศ
  • หลักเกณฑ์การแลกเปลี่ยนเงิน
  • การลงทุนโดยตรง ตปท.
  • อัตราดอกเบี้ยอ้างอิงและแนวทางรองรับการยุติการใช้ LIBOR
  • โครงการลงทะเบียนแสดงตัวตนของผู้ลงทุนตราสารหนี้ในประเทศไทย (BIR)
ระบบการชำระเงิน
  • คณะกรรมการ กรช.
  • นโยบายการชำระเงิน
  • การกำกับดูแลระบบการชำระเงิน
  • การกำกับตาม พ.ร.บ. ระบบการชำระเงิน 2560
  • บริการระบบการชำระเงิน
  • แนวนโยบาย/แนวปฏิบัติ /มาตรฐานระบบการชำระเงิน
  • ระเบียบ/ประกาศระบบการชำระเงิน
  • เทคโนโลยีทางการเงิน
  • การชำระเงินกับต่างประเทศ
สถิติ
  • สถิติตลาดการเงิน
  • สถิติเศรษฐกิจการเงิน
  • สถิติสถาบันการเงิน
  • สถิติระบบการชำระเงิน
  • สถิติเศรษฐกิจการเงินภูมิภาค
  • เครื่องชี้ภาวะเศรษฐกิจสำคัญ
  • แผนภูมิข้อมูลเศรษฐกิจสำคัญ
  • การรับส่งข้อมูลกับ ธปท.
  • บทความและเอกสารเผยแพร่ด้านสถิติ
  • คู่มือประชาชนด้านสถิติ
  • บริการข้อมูล BOT API
ตารางเวลาเผยแพร่
เงื่อนไขการให้บริการ
นโยบายคุ้มครอง
ข้อมูลส่วนบุคคล
เชื่อมโยง
คำถามถามบ่อย
ติดต่อ ธปท.

©2015 Bank of Thailand. All rights reserved.   ( เว็บไซต์นี้รับชมได้ดี ด้วยเว็บเบราว์เซอร์ Chrome, Safari, Firefox หรือ IE 10 ขึ้นไป )
สอบถาม/ข้อเสนอแนะ/ร้องเรียน
ลงทะเบียนรับข้อมูล/ข่าวสาร

ผู้จัดการบริการ
สิริเนตร โทร 0-2356-7067
ภิรมย์ โทร 0-2283-5057,0-2283-6419

©2015 Bank of Thailand. All rights reserved.