• EN
    • EN
  • เกี่ยวกับ ธปท.
    • บทบาทหน้าที่และประวัติ
    • การกำกับดูแลกิจการที่ดี
    • ธปท. กับบทบาทการพัฒนาอย่างยั่งยืน
    • ความร่วมมือระหว่างประเทศ
    • กฎหมาย/กฎเกณฑ์
    • ผังโครงสร้างองค์กร
    • คณะกรรมการ
    • รายงานทางการเงิน
    • รายงานประจำปี ธปท.
    • ธนบัตร
    • มูลนิธิ 50 ปี ธปท.
    • สมัครงานและทุน
    • พิพิธภัณฑ์และแหล่งเรียนรู้
    • ศคง. 1213
    • งานและกิจกรรม
  • นโยบายการเงิน
    • คณะกรรมการ กนง.
    • เป้าหมายของนโยบายการเงิน
    • กำหนดการประชุม
    • ผลการประชุม กนง.
    • เอกสารเผยแพร่ของ กนง.
    • ความรู้เรื่องนโยบายการเงิน
    • ภาวะเศรษฐกิจไทย
    • เศรษฐกิจภูมิภาค
    • งานวิจัยและสัมมนาวิชาการ
  • สถาบันการเงิน
    • คณะกรรมการ กนส.
    • โครงสร้างระบบ สง. ไทย
    • บทบาทของ ธปท. ด้าน สง.
    • การกำหนดนโยบาย สง.
    • การกำกับตรวจสอบ สง.
    • ความร่วมมือกับผู้กำกับดูแลอื่น
    • ธุรกิจการเงินที่ ธปท. กำกับดูแล​​​​
    • มุมสถาบันการเงิน
    • การธนาคารเพื่อความยั่งยืน
    • โครงการพัฒนา Digital Factoring Ecosystem
    • โครงการ API Standard
  • ตลาดการเงิน
    • การดำเนินนโยบายการเงิน
    • การบริหารเงินสำรอง
    • การพัฒนาตลาดการเงิน
    • ตลาดเงินตราต่างประเทศ
    • หลักเกณฑ์การแลกเปลี่ยนเงิน
    • การลงทุนโดยตรง ตปท.
    • อัตราดอกเบี้ยอ้างอิงและแนวทางรองรับการยุติการใช้ LIBOR
    • โครงการลงทะเบียนแสดงตัวตนของผู้ลงทุนตราสารหนี้ในประเทศไทย (BIR)
  • ระบบการชำระเงิน
    • คณะกรรมการ กรช.
    • นโยบายการชำระเงิน
    • การกำกับดูแลระบบการชำระเงิน
    • การกำกับตาม พ.ร.บ. ระบบการชำระเงิน 2560
    • บริการระบบการชำระเงิน
    • แนวนโยบาย/แนวปฏิบัติ /มาตรฐานระบบการชำระเงิน
    • ระเบียบ/ประกาศระบบการชำระเงิน
    • เทคโนโลยีทางการเงิน
    • การชำระเงินกับต่างประเทศ
  • วิจัยและสัมมนา
    • งานวิจัย
    • งานสัมมนา
    • สถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย ​อึ๊งภากรณ์
  • สถิติ
    • สถิติตลาดการเงิน
    • สถิติเศรษฐกิจการเงิน
    • สถิติสถาบันการเงิน
    • สถิติระบบการชำระเงิน
    • สถิติเศรษฐกิจการเงินภูมิภาค
    • เครื่องชี้ภาวะเศรษฐกิจสำคัญ
    • แผนภูมิข้อมูลเศรษฐกิจสำคัญ
    • การรับส่งข้อมูลกับ ธปท.
    • บทความและเอกสารเผยแพร่ด้านสถิติ
    • คู่มือประชาชนด้านสถิติ
    • บริการข้อมูล BOT API

  • หน้าหลัก
  • > ระบบการชำระเงิน
  • > การชำระเงินกับต่างประเทศ
ระบบการชำระเงิน
    • Eventphoto
ระบบการชำระเงิน
  • คณะกรรมการ กรช.
  • นโยบายการชำระเงิน
  • การกำกับดูแลระบบการชำระเงิน
  • การกำกับตาม พ.ร.บ. ระบบการชำระเงิน 2560
    • ประกาศที่เกี่ยวข้อง
    • รายชื่อผู้ประกอบธุรกิจ
    • คู่มือสำหรับประชาชน (พรบ ระบบการชำระเงิน)
    • การขอรับใบอนุญาตประกอบธุรกิจ e-Payment
    • ค่าธรรมเนียม
    • การประชุมชี้แจง
    • ระบบงาน e-Application
    • ถาม-ตอบ
    • สรุปเกณฑ์การรายงาน/แจ้ง/ขออนุญาต สำหรับบริการ e-Payment
  • บริการระบบการชำระเงิน
    • ระบบบาทเนต
    • ระบบการหักบัญชีเช็คด้วยภาพเช็ค
    • สมาชิกระบบการชำระเงิน
  • ระเบียบ/ประกาศระบบการชำระเงิน
    • ระบบบาทเนต
    • การดำเนินการกรณีระบบบาทเนตไม่สามารถให้บริการได้โดยสิ้นเชิง (BAHTNET Offline)
    • ระบบการหักบัญชีเช็คด้วยภาพเช็คและระบบการจัดเก็บภาพเช็ค (ICAS)
    • การให้บริการด้านการเงินด้วยวิธีอิเล็กทรอนิกส์ (EFS)
    • การรับซื้อตราสารหนี้โดยมีสัญญาว่าผู้ขายจะซื้อคืนเพื่อเป็นเงินสภาพคล่องระหว่างวัน (ILF)
    • มาตรการจัดการความเสี่ยงจากการชำระดุลพร้อมกันหลายฝ่ายในระบบบาทเนต (SRS)
    • เวลาในการให้บริการโอนเงินข้ามธนาคารผ่านบาทเนต
    • ประกาศ หนังสือเวียน ที่เกี่ยวข้องกับระบบการชำระเงิน
    • แบบพิมพ์สำหรับธนาคารสมาชิก
  • แนวนโยบาย/แนวปฏิบัติ /มาตรฐานระบบการชำระเงิน
  • เทคโนโลยีทางการเงิน
    • QR Code เพื่อการชำระเงิน
    • การจัดกิจกรรมด้านเทคโนโลยีทางการเงิน
    • การประชุมชี้แจง
    • รายชื่อผู้ให้บริการ P2P Lending ใน Sandbox
    • แนวปฏิบัติ/แนวนโยบาย/หลักเกณฑ์ด้านเทคโนโลยีทางการเงิน
    • Eventphoto
  • การชำระเงินกับต่างประเทศ
    • กัมพูชา
    • ญี่ปุ่น
    • มาเลเซีย
    • เวียดนาม
    • สิงคโปร์
    • อินโดนีเซีย
​

ความเป็นมาของการเชื่อมโยงระบบการชำระเงินของไทยกับต่างประเทศ/_catalogs/masterpage/img/expand.png


บริการพร้อมเพย์ได้รับการตอบรับจากประชาชนอย่างล้นหลาม ด้วยบริการที่มีความสะดวก รวดเร็ว ปลอดภัย และไม่เสียค่าธรรมเนียม ทำให้ยอดสมัครใช้บริการและปริมาณธุรกรรมเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องตั้งแต่เปิดให้บริการในปี 2559 และยิ่งดีดตัวสูงขึ้นในช่วงที่เกิดการแพร่ระบาดของโควิด 19 ในปี 2563 ที่ประชาชนต้องปรับพฤติกรรม ลดการสัมผัสเงินสด และทำธุรกรรมผ่านช่องทางออนไลน์มากขึ้นเพื่อรักษาระยะห่างทางสังคม ทำให้ปริมาณธุรกรรมการโอนเงินผ่านบริการพร้อมเพย์ในประเทศไทยเพิ่มสูงขึ้น 

จากผลตอบรับที่ดีภายในประเทศ ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) จึงมุ่งต่อยอดบริการพร้อมเพย์ให้เกิดประโยชน์ในวงกว้างขึ้น ด้วยการเชื่อมโยงการโอนเงินและการชำระเงินระหว่างประเทศ โดยเฉพาะในประเทศเพื่อนบ้านกลุ่มอาเซียนภายใต้แนวคิด ASEAN Payment Connectivity และประเทศอื่น ๆ ที่มีการแลกเปลี่ยนแรงงานหรือการท่องเที่ยวระหว่างกันเป็นจำนวนมาก ซึ่งบริการที่ ธปท. ได้เดินหน้าเชื่อมโยงกับต่างประเทศในระยะใกล้นี้ประกอบด้วย (1) การชำระเงินระหว่างประเทศด้วย QR Payment และ (2) การโอนเงินระหว่างประเทศ โดยจุดเด่นของบริการทั้งสองนี้บนระบบพร้อมเพย์คือ การได้รับเงินทันทีด้วยค่าธรรมเนียมที่ต่ำลง ในอนาคตจะขยายบริการไปยังประเทศต่าง ๆ และเพิ่มจำนวนผู้ให้บริการเพื่อให้ครอบคลุมการให้บริการให้มากขึ้น 

รายละเอียดของบริการการชำระเงินด้วย QR Code/_catalogs/masterpage/img/expand.png

​
ตัวอย่าง: 1. นักท่องเที่ยวไทยไปประเทศเวียดนาม สามารถใช้ Mobile Application ของ BBL สแกน VietQR ของ TPBank หรือ BIDV ของร้านค้าในประเทศเวียดนามเพื่อชำระค่าสินค้าหรือบริการ
  2. นักท่องเที่ยวมาเลเซียมาประเทศไทย สามารถใช้ Mobile Application ของ Public bank สแกน Thai QR payment ของ KBANK หรือ SCB ของร้านค้าในประเทศไทยเพื่อชำระค่าสินค้าหรือบริการ

          อย่างไรก็ดี ในอนาคต มีแผนจะขยายจำนวนผู้ให้บริการให้มากขึ้นเพื่อให้ครอบคลุมการให้บริการแก่ผู้ให้งานมากที่สุด ตลอดจนขยายการเชื่อมโยงไปยังประเทศต่าง ๆ เพื่อสนับสนุนการชำระเงินระหว่างประเทศผ่านช่องทางอิเล็กทรอนิกส์ที่เพิ่มความสะดวก รวดเร็วแก่ผู้ใช้งาน

รายละเอียดของบริการการโอนเงินด้วยหมายเลขโทรศัพท์มือถือของผู้รับเงิน/_catalogs/masterpage/img/expand.png

​
ตัวอย่าง: 1. แรงงานสิงคโปร์ในประเทศไทยโอนเงินกลับบ้าน สามารถใช้ Mobile Application ของ BBL, KBANK, KTB, SCB โอนเงินผ่านหมายเลขโทรศัพท์มือถือไปยังธนาคาร DBS, OCBC, UOB
  2. แรงงานไทยในประเทศสิงคโปร์โอนเงินกลับบ้าน สามารถใช้ Mobile Application ของ DBS, OCBC, UOB โอนเงินผ่านหมายเลขโทรศัพท์มือถือไปยังธนาคาร BBL, KBANK, KTB, SCB

แผนภาพแสดง​การเชื่อมโยงการชำระเงินกับต่างประเทศ/_catalogs/masterpage/img/expand.png
map_payment
JapanVietnamCambodiaMalaysiaSingaporeIndonesia

เอกสารที่เกี่ยวข้อง

Bi-Monthly payment insight ฉบับที่ 8 (เมษายน 2564)

BOT พระสยาม Magazine ฉบับที่ 4/2564 (กรกฎาคม - สิงหาคม)

การชำระเงินด้วย QR code: ทางเลือกใหม่ของการชำระเงินในการซื้อขายสินค้าและบริการระหว่างประเทศ
Infographic บริการชำระเงินของไทยกับต่างประเทศ
Infographic ขั้นตอนการชำระเงินระหว่างประเทศด้วย QR Code

​

วีดิทัศน์ที่เกี่ยวข้อง

Cross-border payment connectivity
บทสัมภาษณ์ Cross-border Payments ในรายการ BOT On the Go 
​
​ประเทศ
​ลูกค้าไทย
​​ลูกค้าต่างประเทศ
​วันที่เริ่มให้บริการ​
​ใช้ Mobile Application
ผู้ให้บริการไทย
​ชำระเงินผ่าน QR ของผู้ให้บริการต่างประเทศ
​​​​​​วงเงินทำธุรกรรม
​ใช้ Moblie Application
ผู้ให้บริการต่างประเทศ
​ชำระเงินผ่าน QR ของผู้ให้บริการไทย
​​​วงเงินทำธุรกรรม

​ญี่ปุ่น

​BAY

​NTT network*

​100,000 บาทต่อรายการ และ 
500,000 บาทต่อวัน (ขึ้นกับธนาคารพาณิชย์ที่ใช้บริการ โดยไม่เกินวงเงินที่ระบุข้างต้น) 


​
​ ​ ​ ​ ​
​

​-

-​

-​

​2561

​​กัมพูชา


​คาดว่าจะเริ่มให้บริการในปี 65

​คาดว่าจะเริ่มให้บริการในปี 65

​ACLEDA, CCB, FTB, Sathapana, Hatha

​SCB

​100,000 บาทต่อรายการ และ  
500,000 บาทต่อวัน 

​18 ก.พ. 63

​เวียดนาม


​BBL

​VietQR ของ TPBank, BIDV

​TPBank, Sacombank

​BBL, SCB

​100,000,000 VND ต่อรายการ และ 
200,000,000 VND ต่อวัน

​26 มี.ค. 64

​มาเลเซีย


​CIMB Thai

​DuitNow QR ของ Public Bank

​Public Bank

​KBANK, SCB

​3,000 MYR ต่อรายการ และ 
50,000 MYR ต่อวัน 

18 มิ.ย. 64

​อินโดนีเซีย


​BAY, BBL, 
CIMB

​QRIS ของ Bank Central Asia, Bank Negara Indonesia, Bank Rakyat Indonesia, Bank Pembangunan Daerah Bali, Bank Syariah Indonesia, Bank Permata, Bank CIMB Niaga, Espay Debit Indonesia Koe, Fintek Karya Nusantara, Transaksi Artha Gemilang, Bank Mega, Airpay International Indonesia, Bank Sinarmas, Bank Maybank Indonesia, Bank Mandiri, Telkom Indonesia

​Bank Central Asia, Bank Pembangunan Daerah Bali, Bank Syariah Indonesia, Bank Permata, Bank CIMB Niaga, Espay Debit Indonesia Koe, Fintek Karya Nusantara, Transaksi Artha Gemilang, Bank Mega, Bank Sinarmas

​BAY, BBL

​5,000,000 IDR ต่อรายการ 

​17 ส.ค. 64

​สิงคโปร์


​KTB

​NETS QR

​DBS, OCBC

​SCB, KTB

2,200 SGD ต่อรายการต่อวัน 

​22 ก.ย. 64

หมายเหตุ * สำหรับการชำระเงินผ่าน QR payment ที่ประเทศญี่ปุ่น จะเป็นในรูปแบบร้านค้าสแกน QR จาก mobile application ของลูกค้าไทย
​
​ประเทศ
​ธนาคารพาณิชย์ไทยที่ให้บริการ
​วงเงินทำธุรกรรม
​ธนาคารพาณิชย์
ต่างประเทศที่ให้บริการ​
​​วงเงินทำธุรกรรม
​วันที่เริ่มให้บริการ
​สิงคโปร์

(PromptPay - PayNow)
​BBL, KBANK, KTB, SCB
​​1,000 SGD ต่อรายการ ต่อวัน ต่อธนาคาร
​DBS, OCBC, UOB
​​ผู้รับเงินรับได้ ≤ 25,000 บาทต่อรายการ โดยไม่มีการจำกัดวงเงินต่อวัน
​29 เม.ย. 64

​

Share
Tweet
Share
Tweet
เกี่ยวกับ ธปท.
  • บทบาทหน้าที่และประวัติ
  • การกำกับดูแลกิจการที่ดี
  • ธปท. กับบทบาทการพัฒนาอย่างยั่งยืน
  • ความร่วมมือระหว่างประเทศ
  • กฎหมาย/กฎเกณฑ์
  • ผังโครงสร้างองค์กร
  • คณะกรรมการ
  • รายงานทางการเงิน
  • รายงานประจำปี ธปท.
  • ธนบัตร
  • มูลนิธิ 50 ปี ธปท.
  • สมัครงานและทุน
  • พิพิธภัณฑ์และแหล่งเรียนรู้
  • ศคง. 1213
  • งานและกิจกรรม
นโยบายการเงิน
  • คณะกรรมการ กนง.
  • เป้าหมายของนโยบายการเงิน
  • กำหนดการประชุม
  • ผลการประชุม กนง.
  • เอกสารเผยแพร่ของ กนง.
  • ความรู้เรื่องนโยบายการเงิน
  • ภาวะเศรษฐกิจไทย
  • เศรษฐกิจภูมิภาค
  • งานวิจัยและสัมมนาวิชาการ
สถาบันการเงิน
  • คณะกรรมการ กนส.
  • โครงสร้างระบบ สง. ไทย
  • บทบาทของ ธปท. ด้าน สง.
  • การกำหนดนโยบาย สง.
  • การกำกับตรวจสอบ สง.
  • ความร่วมมือกับผู้กำกับดูแลอื่น
  • ธุรกิจการเงินที่ ธปท. กำกับดูแล​​​​
  • มุมสถาบันการเงิน
  • การธนาคารเพื่อความยั่งยืน
  • โครงการพัฒนา Digital Factoring Ecosystem
  • โครงการ API Standard
ตลาดการเงิน
  • การดำเนินนโยบายการเงิน
  • การบริหารเงินสำรอง
  • การพัฒนาตลาดการเงิน
  • ตลาดเงินตราต่างประเทศ
  • หลักเกณฑ์การแลกเปลี่ยนเงิน
  • การลงทุนโดยตรง ตปท.
  • อัตราดอกเบี้ยอ้างอิงและแนวทางรองรับการยุติการใช้ LIBOR
  • โครงการลงทะเบียนแสดงตัวตนของผู้ลงทุนตราสารหนี้ในประเทศไทย (BIR)
ระบบการชำระเงิน
  • คณะกรรมการ กรช.
  • นโยบายการชำระเงิน
  • การกำกับดูแลระบบการชำระเงิน
  • การกำกับตาม พ.ร.บ. ระบบการชำระเงิน 2560
  • บริการระบบการชำระเงิน
  • แนวนโยบาย/แนวปฏิบัติ /มาตรฐานระบบการชำระเงิน
  • ระเบียบ/ประกาศระบบการชำระเงิน
  • เทคโนโลยีทางการเงิน
  • การชำระเงินกับต่างประเทศ
สถิติ
  • สถิติตลาดการเงิน
  • สถิติเศรษฐกิจการเงิน
  • สถิติสถาบันการเงิน
  • สถิติระบบการชำระเงิน
  • สถิติเศรษฐกิจการเงินภูมิภาค
  • เครื่องชี้ภาวะเศรษฐกิจสำคัญ
  • แผนภูมิข้อมูลเศรษฐกิจสำคัญ
  • การรับส่งข้อมูลกับ ธปท.
  • บทความและเอกสารเผยแพร่ด้านสถิติ
  • คู่มือประชาชนด้านสถิติ
  • บริการข้อมูล BOT API
ตารางเวลาเผยแพร่
เงื่อนไขการให้บริการ
นโยบายคุ้มครอง
ข้อมูลส่วนบุคคล
เชื่อมโยง
คำถามถามบ่อย
ติดต่อ ธปท.

©2015 Bank of Thailand. All rights reserved.   ( เว็บไซต์นี้รับชมได้ดี ด้วยเว็บเบราว์เซอร์ Chrome, Safari, Firefox หรือ IE 10 ขึ้นไป )
สอบถาม/ข้อเสนอแนะ/ร้องเรียน
ลงทะเบียนรับข้อมูล/ข่าวสาร

ผู้จัดการบริการ
ปริวรรต โทร 0-2283-6707
ศศินันท์ โทร 0-2283-5054

©2015 Bank of Thailand. All rights reserved.