• EN
    • EN
  • เกี่ยวกับ ธปท.
    • บทบาทหน้าที่และประวัติ
    • การกำกับดูแลกิจการที่ดี
    • ธปท. กับบทบาทการพัฒนาอย่างยั่งยืน
    • ความร่วมมือระหว่างประเทศ
    • กฎหมาย/กฎเกณฑ์
    • ผังโครงสร้างองค์กร
    • คณะกรรมการ
    • รายงานทางการเงิน
    • รายงานประจำปี ธปท.
    • ธนบัตร
    • มูลนิธิ 50 ปี ธปท.
    • สมัครงานและทุน
    • พิพิธภัณฑ์และแหล่งเรียนรู้
    • ศคง. 1213
    • งานและกิจกรรม
  • นโยบายการเงิน
    • คณะกรรมการ กนง.
    • เป้าหมายของนโยบายการเงิน
    • กำหนดการประชุม
    • ผลการประชุม กนง.
    • เอกสารเผยแพร่ของ กนง.
    • ความรู้เรื่องนโยบายการเงิน
    • ภาวะเศรษฐกิจไทย
    • เศรษฐกิจภูมิภาค
    • งานวิจัยและสัมมนาวิชาการ
  • สถาบันการเงิน
    • คณะกรรมการ กนส.
    • โครงสร้างระบบ สง. ไทย
    • บทบาทของ ธปท. ด้าน สง.
    • การกำหนดนโยบาย สง.
    • การกำกับตรวจสอบ สง.
    • ความร่วมมือกับผู้กำกับดูแลอื่น
    • ธุรกิจการเงินที่ ธปท. กำกับดูแล​​​​
    • มุมสถาบันการเงิน
    • การธนาคารเพื่อความยั่งยืน
    • โครงการพัฒนา Digital Factoring Ecosystem
    • โครงการ API Standard
  • ตลาดการเงิน
    • การดำเนินนโยบายการเงิน
    • การบริหารเงินสำรอง
    • การพัฒนาตลาดการเงิน
    • ตลาดเงินตราต่างประเทศ
    • หลักเกณฑ์การแลกเปลี่ยนเงิน
    • การลงทุนโดยตรง ตปท.
    • อัตราดอกเบี้ยอ้างอิงและแนวทางรองรับการยุติการใช้ LIBOR
    • โครงการลงทะเบียนแสดงตัวตนของผู้ลงทุนตราสารหนี้ในประเทศไทย (BIR)
  • ระบบการชำระเงิน
    • คณะกรรมการ กรช.
    • นโยบายการชำระเงิน
    • การกำกับดูแลระบบการชำระเงิน
    • การกำกับตาม พ.ร.บ. ระบบการชำระเงิน 2560
    • บริการระบบการชำระเงิน
    • แนวนโยบาย/แนวปฏิบัติ /มาตรฐานระบบการชำระเงิน
    • ระเบียบ/ประกาศระบบการชำระเงิน
    • เทคโนโลยีทางการเงิน
    • การชำระเงินกับต่างประเทศ
  • วิจัยและสัมมนา
    • งานวิจัย
    • งานสัมมนา
    • สถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย ​อึ๊งภากรณ์
  • สถิติ
    • สถิติตลาดการเงิน
    • สถิติเศรษฐกิจการเงิน
    • สถิติสถาบันการเงิน
    • สถิติระบบการชำระเงิน
    • สถิติเศรษฐกิจการเงินภูมิภาค
    • เครื่องชี้ภาวะเศรษฐกิจสำคัญ
    • แผนภูมิข้อมูลเศรษฐกิจสำคัญ
    • การรับส่งข้อมูลกับ ธปท.
    • บทความและเอกสารเผยแพร่ด้านสถิติ
    • คู่มือประชาชนด้านสถิติ
    • บริการข้อมูล BOT API

  • หน้าหลัก
  • > ข่าว/สุนทรพจน์
  • > ข่าว ธปท.
  • > 2021
ข่าว/สุนทรพจน์
ข่าว/สุนทรพจน์
  • ข่าว ธปท.
    • รวมข่าวทั้งหมด
    • แถลงข่าวเศรษฐกิจและการเงิน
    • กองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน
    • ตลาดการเงิน
    • นโยบายและการกำกับสถาบันการเงิน
    • ผลการประชุมคณะกรรมการนโยบายการเงิน
    • ระบบการชำระเงิน
    • รายงานนโยบายการเงิน
  • สุนทรพจน์
​ข่าว ธปท. ​ฉบับที่ 15/2564


เรื่อง Stablecoin ที่มีการระบุหน่วยมูลค่าเป็นบาท

          ​นายพฤทธิพงศ์ ศรีมาจันทร์ ผู้ช่วยผู้ว่าการสายกฎหมาย ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) เปิดเผยว่า ที่ผ่านมา ภาคเอกชนมีความพยายามในการพัฒนาคริปโทเคอร์เรนซีด้วยการอิงมูลค่ากับสินทรัพย์หรือเงินตรา เพื่อให้มูลค่าผันผวนน้อยลง ซึ่งคริปโทเคอร์เรนซีประเภทนี้ รู้จักในชื่อว่า "Stablecoin" ต่อมา ได้มีการพัฒนา Stablecoin ชนิดใหม่ที่ประยุกต์ใช้กลไกสัญญาอัจฉริยะ (Smart contract) ในการเทียบมูลค่าให้เท่ากับสกุลเงินตราต่าง ๆ โดยเริ่มมีกระแสข่าวการออก Stablecoin ชนิดหนึ่ง ชื่อ THT บน Terra Platform ที่อยู่ในต่างประเทศ ซึ่งระบุให้ 1 หน่วยของมูลค่า THT เป็น 1 บาท

          แม้ในปัจจุบัน THT จะยังไม่ได้ถูกใช้เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน แต่ถ้า THT หรือ stablecoin ที่มีลักษณะทำนองเดียวกันถูกนำมาใช้ทดแทนเงินบาทในวงกว้าง จะทำให้เกิดการแบ่งแยกระบบเงินตราของประเทศไทยออกไปมากกว่าหนึ่งระบบ และส่งผลกระทบต่อความเชื่อมั่นของประชาชนและความมั่นคงของระบบเงินตราของประเทศ อันเป็นรากฐานสำคัญของการดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ดังนั้น จึงถือเป็นการกระทำที่ผิดกฎหมาย เนื่องจากเป็น การทำ จำหน่าย ใช้ หรือนำออกใช้ วัตถุหรือเครื่องหมายแทนเงินตราที่เป็นความผิดตามมาตรา 9 แห่งพระราชบัญญัติเงินตรา พ.ศ. 2501

          ทั้งนี้ ประชาชนควรระมัดระวังและไม่เข้าไปเกี่ยวข้องกับธุรกรรม THT เนื่องจากไม่ได้รับความคุ้มครองทางกฎหมาย รวมทั้งอาจมีความเสี่ยงที่จะถูกโจรกรรมทางไซเบอร์ หรือถูกใช้เป็นเครื่องมือในการสนับสนุนการฟอกเงิน

ธนาคารแห่งประเทศไทย
17 มีนาคม 2564

ข้อมูลเพิ่มเติม : ฝ่ายกฎหมาย
โทรศัพท์ : 0 2356 7491
ทีมงานสกุลเงินดิจิทัล ฝ่ายตลาดการเงิน สายตลาดการเงิน
โทรศัพท์ : 0 2356 7532
E-mail : DigitalCurrencyTeam@bot.or.th  

>>​Download ข่าว​​ PDF

คำถาม - คำตอบ

ถาม : Stablecoin คืออะไร

ตอบ : Stablecoin เป็นหนึ่งในประเภทของคริปโทเคอร์เรนซี ที่ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อให้มูลค่าใกล้เคียงกับเงินตราหรือสินทรัพย์ที่ต้องการอ้างอิง โดยสามารถแบ่งออกเป็น 3 ประเภท ดังนี้
1. Fiat-backed stablecoin คือ stablecoin ที่อิงมูลค่ากับเงินทั่วไป (fiat money) ในอัตราส่วน 1:1
2. Asset-backed stablecoin คือ stablecoin ที่อิงมูลค่ากับสินทรัพย์ต่าง ๆ
3. Algorithmic stablecoin คือ stablecoin ที่ไม่ได้อิงมูลค่ากับเงินทั่วไป หรือสินทรัพย์ใด ๆ แต่ประยุกต์ใช้กลไกสัญญาอัจฉริยะ (smart contract) ในการเทียบมูลค่าให้เท่ากับสกุลเงินตราต่าง ๆ ที่อยู่ใน blockchain ในการกำหนดมูลค่าของเหรียญให้คงที่เสมอ


ถาม : THT คืออะไร

ตอบ : THT เป็น stablecoin ประเภทหนึ่งที่มีการระบุหน่วยมูลค่าเป็นบาท สร้างบน platform ชื่อ Terra ในต่างประเทศ และใช้กลไกในการทำให้มูลค่าของเหรียญคงที่ (จัดเป็นประเภท Algorithmic stablecoin) เพื่อทำให้ THT 1 หน่วยมีมูลค่าใกล้เคียง 1 บาท ผ่านการแลกเปลี่ยนระหว่าง THT กับ Luna (คริปโทเคอร์เรนซีอีกสกุลของ Terra blockchain ซึ่งใช้ในการสร้าง THT)


ถาม : THT แตกต่างจากเงินประเภท e-money ที่มีการกำหนดให้มูลค่าเท่ากับ 1 บาทอย่างไร

ตอบ : e-money เป็นสื่อการชำระเงินที่ผู้ใช้บริการต้องชำระเงินล่วงหน้า (pre-paid) แก่ผู้ให้บริการ e-money ขณะที่ THT ไม่มีเงินหรือสินทรัพย์อื่นใดหนุนหลัง

ถาม : Stablecoin ที่มีการระบุหน่วยมูลค่าเป็นบาทตามข่าวนี้ได้นับรวม Bitcoin และ Ethereum หรือไม่

ตอบ : Bitcoin และ Ethereum ไม่เป็น stablecoin

ถาม : ต่างประเทศมีวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับคริปโทเคอร์เรนซีที่คล้าย THT อย่างไร

ตอบ : ปัจจุบันยังไม่มีธนาคารกลางใดในโลกที่ออกมารับรองว่า คริปโทเคอร์เรนซีเป็นเงินที่ชำระหนี้ได้ตามกฎหมาย (legal tender)


Share
Tweet
Share
Tweet
เกี่ยวกับ ธปท.
  • บทบาทหน้าที่และประวัติ
  • การกำกับดูแลกิจการที่ดี
  • ธปท. กับบทบาทการพัฒนาอย่างยั่งยืน
  • ความร่วมมือระหว่างประเทศ
  • กฎหมาย/กฎเกณฑ์
  • ผังโครงสร้างองค์กร
  • คณะกรรมการ
  • รายงานทางการเงิน
  • รายงานประจำปี ธปท.
  • ธนบัตร
  • มูลนิธิ 50 ปี ธปท.
  • สมัครงานและทุน
  • พิพิธภัณฑ์และแหล่งเรียนรู้
  • ศคง. 1213
  • งานและกิจกรรม
นโยบายการเงิน
  • คณะกรรมการ กนง.
  • เป้าหมายของนโยบายการเงิน
  • กำหนดการประชุม
  • ผลการประชุม กนง.
  • เอกสารเผยแพร่ของ กนง.
  • ความรู้เรื่องนโยบายการเงิน
  • ภาวะเศรษฐกิจไทย
  • เศรษฐกิจภูมิภาค
  • งานวิจัยและสัมมนาวิชาการ
สถาบันการเงิน
  • คณะกรรมการ กนส.
  • โครงสร้างระบบ สง. ไทย
  • บทบาทของ ธปท. ด้าน สง.
  • การกำหนดนโยบาย สง.
  • การกำกับตรวจสอบ สง.
  • ความร่วมมือกับผู้กำกับดูแลอื่น
  • ธุรกิจการเงินที่ ธปท. กำกับดูแล​​​​
  • มุมสถาบันการเงิน
  • การธนาคารเพื่อความยั่งยืน
  • โครงการพัฒนา Digital Factoring Ecosystem
  • โครงการ API Standard
ตลาดการเงิน
  • การดำเนินนโยบายการเงิน
  • การบริหารเงินสำรอง
  • การพัฒนาตลาดการเงิน
  • ตลาดเงินตราต่างประเทศ
  • หลักเกณฑ์การแลกเปลี่ยนเงิน
  • การลงทุนโดยตรง ตปท.
  • อัตราดอกเบี้ยอ้างอิงและแนวทางรองรับการยุติการใช้ LIBOR
  • โครงการลงทะเบียนแสดงตัวตนของผู้ลงทุนตราสารหนี้ในประเทศไทย (BIR)
ระบบการชำระเงิน
  • คณะกรรมการ กรช.
  • นโยบายการชำระเงิน
  • การกำกับดูแลระบบการชำระเงิน
  • การกำกับตาม พ.ร.บ. ระบบการชำระเงิน 2560
  • บริการระบบการชำระเงิน
  • แนวนโยบาย/แนวปฏิบัติ /มาตรฐานระบบการชำระเงิน
  • ระเบียบ/ประกาศระบบการชำระเงิน
  • เทคโนโลยีทางการเงิน
  • การชำระเงินกับต่างประเทศ
สถิติ
  • สถิติตลาดการเงิน
  • สถิติเศรษฐกิจการเงิน
  • สถิติสถาบันการเงิน
  • สถิติระบบการชำระเงิน
  • สถิติเศรษฐกิจการเงินภูมิภาค
  • เครื่องชี้ภาวะเศรษฐกิจสำคัญ
  • แผนภูมิข้อมูลเศรษฐกิจสำคัญ
  • การรับส่งข้อมูลกับ ธปท.
  • บทความและเอกสารเผยแพร่ด้านสถิติ
  • คู่มือประชาชนด้านสถิติ
  • บริการข้อมูล BOT API
ตารางเวลาเผยแพร่
เงื่อนไขการให้บริการ
นโยบายคุ้มครอง
ข้อมูลส่วนบุคคล
เชื่อมโยง
คำถามถามบ่อย
ติดต่อ ธปท.

©2015 Bank of Thailand. All rights reserved.   ( เว็บไซต์นี้รับชมได้ดี ด้วยเว็บเบราว์เซอร์ Chrome, Safari, Firefox หรือ IE 10 ขึ้นไป )
สอบถาม/ข้อเสนอแนะ/ร้องเรียน
ลงทะเบียนรับข้อมูล/ข่าวสาร


©2015 Bank of Thailand. All rights reserved.