[1] การย้ายถิ่น คือ การเปลี่ยนแปลงที่อยู่อาศัยจากพื้นที่ซึ่งเป็นถิ่นที่อยู่เดิมย้ายไปอีกพื้นที่หนึ่ง ซึ่งอาจจะเป็นระยะสั้นๆ หรือถาวร ซึ่งอาจจะย้ายภายในประเทศหรือต่างประเทศ (วรรณา ก้องพลานนท์ (2558), สภาพปัญหาและการปรับตัวของแรงงานไทย ย้ายถิ่น รัฐปีนัง ประเทศมาเลเซีย, วิทยานิพนธ์หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพัฒนามนุษย์และสังคม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์)
[2] บทความนานาสาระข้อมูลประชากร “คนอีสานครองแชมป์ย้ายถิ่นเข้ากรุงเทพ”, สำมะโนประชากรและเคหะ, สสช.
[3] เสาวณี จันทะพงษ์ และคณะ (2556), กระบวนการปรับโครงสร้างเศรษฐกิจไทยในปัจจุบันและทิศทางข้างหน้า: วิเคราะห์จากมุมมองตลาดแรงงาน, โครงการศึกษาการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของไทยในระยะต่อไป สายนโยบายการเงิน ธปท.
[4] Overview of Internal Migration in Thailand, This brief is part of a series of Policy Briefs on Internal Migration in Southeast Asia jointly produced by UNESCO, UNDP, IOM, and UN-Habitat, 24 Jan 2018
[5] Understanding Human Mobility With Mobile Phone Data: Expert Opinions and Stories Blog, UNESCAP 2 April 2021 และ COVID-19 Widens Gulf of Global Data Inequality, While National Statistical Offices Step Up to Meet New Data Demands by Haishan Fu & Stefan Schweinfest, World Bank Blogs, June 05, 2020
[6] ฐานข้อมูลขนาดใหญ่จากโทรศัพท์มือถือ (Mobile Big Data) Telco ของ True Digital Group ซึ่งมีผู้ใช้มือถือประมาณ 20 ล้านคน ระยะเวลา 26 เดือน ตั้งแต่ 1 ม.ค. 62 ถึง 28 ก.พ. 64 เป็นข้อมูลรวม (Aggregate) ไม่แยกแยะข้อมูลรายบุคคล ลักษณะตัวอย่างประชากรที่ไม่ระบุชื่อ ข้อมูลแบ่งหลายมิติ เช่น รายวัน รายเดือน และลักษณะการใช้งานโทรศัพท์ของแต่ละบุคคล บทความนี้ผู้เขียนเลือกใช้ข้อมูลรายเดือนเนื่องจากข้อมูลรายวันนั้นถูกจัดเก็บมาในรูปแบบชื่อวันของสัปดาห์ เช่น วันจันทร์ วันอังคาร เป็นต้น ซึ่งผู้เขียนไม่สามารถรู้ได้ว่าวันของสัปดาห์นั้น เป็นวันอะไรในปฎิทิน
[7] COVID-19: Social Distancing และคลื่นอพยพของประชากรจากมิติสังคมวิทยา: พลังไทย “อยู่บ้าน หยุดเชื้อ” โดยเสาวณี จันทะพงษ์ ทศพล ต้องหุ้ย รัตติยา ภูละออ และมนทกานต์ ฉิมมามี, บทความสายนโยบายการเงิน ธปท. 4 เม.ย. 2563