• EN
    • EN
  • เกี่ยวกับ ธปท.
    • บทบาทหน้าที่และประวัติ
    • การกำกับดูแลกิจการที่ดี
    • ธปท. กับบทบาทการพัฒนาอย่างยั่งยืน
    • ความร่วมมือระหว่างประเทศ
    • กฎหมาย/กฎเกณฑ์
    • ผังโครงสร้างองค์กร
    • คณะกรรมการ
    • รายงานทางการเงิน
    • รายงานประจำปี ธปท.
    • ธนบัตร
    • มูลนิธิ 50 ปี ธปท.
    • สมัครงานและทุน
    • พิพิธภัณฑ์และแหล่งเรียนรู้
    • ศคง. 1213
    • งานและกิจกรรม
  • นโยบายการเงิน
    • คณะกรรมการ กนง.
    • เป้าหมายของนโยบายการเงิน
    • กำหนดการประชุม
    • ผลการประชุม กนง.
    • เอกสารเผยแพร่ของ กนง.
    • ความรู้เรื่องนโยบายการเงิน
    • ภาวะเศรษฐกิจไทย
    • เศรษฐกิจภูมิภาค
    • งานวิจัยและสัมมนาวิชาการ
  • สถาบันการเงิน
    • คณะกรรมการ กนส.
    • โครงสร้างระบบ สง. ไทย
    • บทบาทของ ธปท. ด้าน สง.
    • การกำหนดนโยบาย สง.
    • การกำกับตรวจสอบ สง.
    • ความร่วมมือกับผู้กำกับดูแลอื่น
    • ธุรกิจการเงินที่ ธปท. กำกับดูแล​​​​
    • มุมสถาบันการเงิน
    • การธนาคารเพื่อความยั่งยืน
    • โครงการพัฒนา Digital Factoring Ecosystem
    • โครงการ API Standard
  • ตลาดการเงิน
    • การดำเนินนโยบายการเงิน
    • การบริหารเงินสำรอง
    • การพัฒนาตลาดการเงิน
    • ตลาดเงินตราต่างประเทศ
    • หลักเกณฑ์การแลกเปลี่ยนเงิน
    • การลงทุนโดยตรง ตปท.
    • อัตราดอกเบี้ยอ้างอิงและแนวทางรองรับการยุติการใช้ LIBOR
    • โครงการลงทะเบียนแสดงตัวตนของผู้ลงทุนตราสารหนี้ในประเทศไทย (BIR)
  • ระบบการชำระเงิน
    • คณะกรรมการ กรช.
    • นโยบายการชำระเงิน
    • การกำกับดูแลระบบการชำระเงิน
    • การกำกับตาม พ.ร.บ. ระบบการชำระเงิน 2560
    • บริการระบบการชำระเงิน
    • แนวนโยบาย/แนวปฏิบัติ /มาตรฐานระบบการชำระเงิน
    • ระเบียบ/ประกาศระบบการชำระเงิน
    • เทคโนโลยีทางการเงิน
    • การกำกับและตรวจสอบความเสี่ยงด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
    • การชำระเงินกับต่างประเทศ
  • วิจัยและสัมมนา
    • งานวิจัย
    • งานสัมมนา
    • สถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย ​อึ๊งภากรณ์
  • สถิติ
    • สถิติตลาดการเงิน
    • สถิติเศรษฐกิจการเงิน
    • สถิติสถาบันการเงิน
    • สถิติระบบการชำระเงิน
    • สถิติเศรษฐกิจการเงินภูมิภาค
    • เครื่องชี้ภาวะเศรษฐกิจสำคัญ
    • แผนภูมิข้อมูลเศรษฐกิจสำคัญ
    • การรับส่งข้อมูลกับ ธปท.
    • บทความและเอกสารเผยแพร่ด้านสถิติ
    • คู่มือประชาชนด้านสถิติ
    • บริการข้อมูล BOT API

  • หน้าหลัก
  • > การธนาคารเพื่อความยั่งยืน
การธนาคารเพื่อความยั่งยืน
การธนาคารเพื่อความยั่งยืน
  • บทบาทของ ธปท. ในเรื่องการธนาคารเพื่อความยั่งยืน
  • เครือข่ายความร่วมมือ
  • งาน/กิจกรรม
  • ข้อมูลที่น่าสนใจ
เรื่องใหม่

5 ม.ค. 2565 | รายงานความก้าวหน้าเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของประเทศไทย พ.ศ. 2559 - 2563 (Thailand’s SDGs Report 2016 - 2020)

12 พ.ย. 2564 | The Bank of Thailand’s sustainability commitment in support of the NGFS Glasgow Declaration

18 ส.ค. 2564 | แถลงข่าวร่วมแนวทางการพัฒนาภาคการเงินเพื่อความยั่งยืน

28 มิ.ย. 2564 | Better Financing, Better Living: รู้จักการเงินการธนาคารยุคใหม่เพื่อโลกที่ยั่งยืน

30 มิ.ย. 2563 | ผู้ว่าการ ธปท. หารือร่วมกับที่ปรึกษานายกฯ อังกฤษและผู้ว่าการธนาคารกลางในกลุ่มประเทศอาเซียน

​บทบาทของสถาบันการเงินและหลักการ ESG

ประโยชน์ของการธนาคารเพื่อความยั่งยืน

บทบาทของ ธปท.

​การธนาคารเพื่อความยั่งยืน

​เรื่องใหม่
​

​
​

​Sustainable Finance Initiatives for Thailand

คณะทำงานด้านความยั่งยืนในภาคการเงิน ซึ่งประกอบด้วย สศค. ธปท. ก.ล.ต. คปภ. และ ตลท. ร่วมกันกำหนดทิศทางและกรอบการดำเนินงานด้านการเงินที่ยั่งยืนของภาคการเงินไทย ภายใต้ Sustainable Finance Initiatives for Thailand


​​การธนาคารเพื่อความยั่งยืน หมายถึง การธนาคารที่มุ่งเน้นการเติบโตอย่างยั่งยืนของธุรกิจและสังคมในระยะยาว โดยดําเนินธุรกิจด้วยความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม สังคม และอยู่ภายใต้หลักธรรมาภิบาลที่ดี (ESG) ตลอดจนการช่วยสร้างแรงผลักดันให้ทุกภาคส่วนทั้งภาคครัวเรือน ภาคธุรกิจ และรัฐบาลดําเนินการในทิศทางที่นําไปสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน ซึ่งจะช่วยป้องกันความเสี่ยงต่อทั้งระบบเศรษฐกิจและตัวสถาบันการเงินเอง



​

การธนาคารเพื่อความยั่งยืน

​​การธนาคารเพื่อความยั่งยืนหมายถึง การธนาคารที่มุ่งเน้นการเติบโตอย่างยั่งยืนของธุรกิจและสังคมในระยะยาว โดยดําเนินธุรกิจด้วยความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม สังคม และอยู่ภายใต้หลักธรรมาภิบาลที่ดี (ESG) ตลอดจนการช่วยสร้างแรงผลักดันให้ทุกภาคส่วนทั้งภาคครัวเรือน ภาคธุรกิจ และรัฐบาลดําเนินการในทิศทางที่นําไปสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน ซึ่งจะช่วยป้องกันความเสี่ยงต่อทั้งระบบเศรษฐกิจและตัวสถาบันการเงินเอง

บทบาทของสถาบันการเงินในเรื่องการธนาคารเพื่อความยั่งยืน/_catalogs/masterpage/img/expand.png

สถาบันการเงินมีบทบาทสำคัญในการสร้างความยั่งยืนผ่านการทำหน้าที่จัดสรรทรัพยากรทางการเงินจากผู้ออมเงินไปยังผู้กู้ที่ต้องการใช้เงินทุน โดยคำนึงถึงการเติบโตอย่างยั่งยืนของธุรกิจและสังคม และดำเนินธุรกิจด้วยความรับผิดชอบต่อผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และอยู่ภายใต้หลักธรรมาภิบาลที่ดี (ESG)

​

​

​มีกระบวนการพิจารณาสินเชื่อแก่ธุรกิจที่คำนึงถึงผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม เพื่อลดความเสี่ยงต่อสิ่งแวดล้อมที่อาจเกิดขึ้นจากการปล่อยสินเชื่อ และผลกระทบต่อชื่อเสียงของธนาคาร นอกจากนี้ ยังควรให้ความสำคัญกับการปล่อยสินเชื่อให้กับโครงการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ไม่ส่งผลเสียต่อชุมชน เช่น สินเชื่อพลังงานสะอาด ซึ่งเป็นการขยายโอกาสทางธุรกิจไปยังกลุ่มลูกค้าและผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ

​

​ให้บริการทางการเงินโดยคำนึงถึงผลกระทบต่อผู้บริโภคในระยะยาว เช่น การนำเสนอผลิตภัณฑ์โดยพิจารณาความสามารถในการชำระหนี้ของลูกค้าเพื่อลดปัญหาการก่อหนี้สินล้นพ้นตัว การส่งเสริมเข้าถึงบริการทางการเงินของลูกค้าโดยเฉพาะลูกค้าฐานราก หรือผู้ที่อยู่ในท้องถิ่นห่างไกล ประกอบกับการให้ความรู้ทางการเงิน เพื่อส่งเสริมวินัยทางการเงินที่ดี และให้ลูกค้าได้รับข้อมูลที่เหมาะสมต่อการตัดสินใจเลือกผลิตภัณฑ์ทางการเงินให้ตรงกับความต้องการและความสามารถของลูกค้า

​

​ส่งเสริมการดำเนินการภายใต้หลักธรรมาภิบาลที่ดีทั้งภายในองค์กรของสถาบันการเงินเองและการดำเนินธุรกิจกับบุคคลภายนอกอย่างโปร่งใส รวมทั้งไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการทุจริตหรือคอร์รัปชัน การดำเนินการดังกล่าวจะช่วยลดความเสี่ยงด้านการปฏิบัติตามกฎเกณฑ์และผลกระทบต่อชื่อเสียงของสถาบันการเงิน


ประโยชน์ของการธนาคารเพื่อความยั่งยืน/_catalogs/masterpage/img/collapse.png

​

บทบาทของ ธปท. ในการส่งเสริมการธนาคารเพื่อความยั่งยืน/_catalogs/masterpage/img/collapse.png
​

         ปัจจุบันระบบเศรษฐกิจการเงินไทยได้เผชิญกับความเสี่ยงจากปัจจัย ESG หลายประการ ไม่ว่าจะเป็นความเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมและการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ (Climate Change) ทั้งการเกิดอุทกภัย ภัยแล้ง และฝุ่น PM 2.5 ความเสี่ยงจากปัจจัยด้านสังคม เช่น ปัญหาหนี้ครัวเรือน ตลอดจนความเสี่ยงด้านธรรมาภิบาลที่เกิดจากการไม่ปฏิบัติตามหลักจรรยาบรรณและการฉ้อโกงหรือคอร์รัปชัน ซึ่งส่งผลกระทบต่อทั้งภาคธุรกิจและสังคมที่เป็นลูกค้าของกลุ่มสถาบันการเงิน

         ธปท. ในฐานะผู้ที่ดูแลเศรษฐกิจ สถาบันการเงิน และระบบการเงินของประเทศให้มีเสถียรภาพ จึงมีนโยบายส่งเสริมให้ระบบสถาบันการเงินไทยตระหนักถึงความสำคัญและความเร่งด่วนของการดำเนินธุรกิจตามหลักการธนาคารเพื่อความยั่งยืน โดยสนับสนุนการผนวกปัจจัย ESG เข้าไปในกระบวนการดำเนินธุรกิจ และผลักดันให้ฝังเป็นวัฒนธรรมหรือค่านิยมของสถาบันการเงินไทย

​นโยบายสนับสนุนการธนาคารเพื่อความยั่งยืน

​ธปท. ได้ตระหนักและให้ความสำคัญในเรื่องการธนาคารเพื่อความยั่งยืนโดยมีการออกนโยบายเพื่อสนับสนุนอย่างต่อเนื่อง

​13 สิงหาคม 2562 สมาคมธนาคารไทย ธนาคารพาณิชย์ 15 แห่ง และ ธปท. ร่วมลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือกำหนดแนวทางการดำเนินกิจการธนาคารอย่างยั่งยืนในด้านการให้สินเชื่ออย่างรับผิดชอบ (Link)

​23 กรกฎาคม 2561 ธนาคารพาณิชย์สมาชิกสมาคมธนาคารไทย 14 แห่ง ร่วมกับธนาคารออมสิน และธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ได้ลงนามในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ “การให้บริการบัญชีเงินฝากเพื่อการเข้าถึงบริการทางการเงินขั้นพื้นฐาน” (บัญชีเงินฝากพื้นฐาน) ภายใต้แนวคิดการส่งเสริมการเข้าถึงบริการทางการเงินทุกภาคส่วนเพื่อสนับสนุนให้เศรษฐกิจเติบโตอย่างยั่งยืนและทั่วถึง (ข่าว ธปท. ฉบับที่ 46/2561)

​การได้รับบริการทางการเงินอย่างเป็นธรรมเป็นสิทธิขั้นพื้นฐานของประชาชนผู้ใช้บริการทางการเงิน ธนาคารแห่งประเทศไทยจึงให้ความสำคัญและส่งเสริมให้ผู้ให้บริการทางการเงินมีการจัดการด้านการให้บริการแก่ลูกค้าอย่างรับผิดชอบและเป็นธรรม ซึ่งจะเป็นปัจจัยสำคัญที่จะสนับสนุนให้ผู้ให้บริการดำเนินธุรกิจได้อย่างยั่งยืน (ประกาศ สกส.1/2561)

​ธปท. ออกหนังสือเวียนถึงสถาบันการเงินและ Non-Bank จึงจัดทำแนวทางการรายงานและการเปิดเผยข้อมูลคุณภาพการให้บริการ เพื่อให้ผู้ให้บริการเปิดเผยข้อมูลคุณภาพการให้บริการต่อลูกค้าและรายงานข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องร้องเรียนต่อ ธปท. ในรูปแบบที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน เพื่อให้ลูกค้ามีข้อมูลและสามารถเลือกใช้ผลิตภัณฑ์และบริการได้อย่างเหมาะสม (หนังสือที่ ธปท.ฝคง.ว.229/2562)

​ธนาคารแห่งประเทศไทยให้ความสำคัญอย่างยิ่งในการกำกับดูแลการเรียกเก็บดอกเบี้ยค่าธรรมเนียม ค่าบริการ และเบี้ยปรับให้มีความเหมาะสมและเป็นธรรมที่ได้กล่าวข้างต้น ธปท. จึงขอเน้นย้ำให้ผู้ให้บริการควบคุมดูแลให้มีการปฏิบัติตามประกาศข้างตนอย่างเคร่งครัดเพื่อให้เป็นไปตามเจตนารมณ์ของประกาศ และเพื่อประโยชน์ในการคุ้มครองผู้ใช้บริการทางการเงิน (หนังสือ ธปท.ฝคง.ว. 711/2562)

Share
Tweet
Share
Tweet
เกี่ยวกับ ธปท.
  • บทบาทหน้าที่และประวัติ
  • การกำกับดูแลกิจการที่ดี
  • ธปท. กับบทบาทการพัฒนาอย่างยั่งยืน
  • ความร่วมมือระหว่างประเทศ
  • กฎหมาย/กฎเกณฑ์
  • ผังโครงสร้างองค์กร
  • คณะกรรมการ
  • รายงานทางการเงิน
  • รายงานประจำปี ธปท.
  • ธนบัตร
  • มูลนิธิ 50 ปี ธปท.
  • สมัครงานและทุน
  • พิพิธภัณฑ์และแหล่งเรียนรู้
  • ศคง. 1213
  • งานและกิจกรรม
นโยบายการเงิน
  • คณะกรรมการ กนง.
  • เป้าหมายของนโยบายการเงิน
  • กำหนดการประชุม
  • ผลการประชุม กนง.
  • เอกสารเผยแพร่ของ กนง.
  • ความรู้เรื่องนโยบายการเงิน
  • ภาวะเศรษฐกิจไทย
  • เศรษฐกิจภูมิภาค
  • งานวิจัยและสัมมนาวิชาการ
สถาบันการเงิน
  • คณะกรรมการ กนส.
  • โครงสร้างระบบ สง. ไทย
  • บทบาทของ ธปท. ด้าน สง.
  • การกำหนดนโยบาย สง.
  • การกำกับตรวจสอบ สง.
  • ความร่วมมือกับผู้กำกับดูแลอื่น
  • ธุรกิจการเงินที่ ธปท. กำกับดูแล​​​​
  • มุมสถาบันการเงิน
  • การธนาคารเพื่อความยั่งยืน
  • โครงการพัฒนา Digital Factoring Ecosystem
  • โครงการ API Standard
ตลาดการเงิน
  • การดำเนินนโยบายการเงิน
  • การบริหารเงินสำรอง
  • การพัฒนาตลาดการเงิน
  • ตลาดเงินตราต่างประเทศ
  • หลักเกณฑ์การแลกเปลี่ยนเงิน
  • การลงทุนโดยตรง ตปท.
  • อัตราดอกเบี้ยอ้างอิงและแนวทางรองรับการยุติการใช้ LIBOR
  • โครงการลงทะเบียนแสดงตัวตนของผู้ลงทุนตราสารหนี้ในประเทศไทย (BIR)
ระบบการชำระเงิน
  • คณะกรรมการ กรช.
  • นโยบายการชำระเงิน
  • การกำกับดูแลระบบการชำระเงิน
  • การกำกับตาม พ.ร.บ. ระบบการชำระเงิน 2560
  • บริการระบบการชำระเงิน
  • แนวนโยบาย/แนวปฏิบัติ /มาตรฐานระบบการชำระเงิน
  • ระเบียบ/ประกาศระบบการชำระเงิน
  • เทคโนโลยีทางการเงิน
  • การกำกับและตรวจสอบความเสี่ยงด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
  • การชำระเงินกับต่างประเทศ
สถิติ
  • สถิติตลาดการเงิน
  • สถิติเศรษฐกิจการเงิน
  • สถิติสถาบันการเงิน
  • สถิติระบบการชำระเงิน
  • สถิติเศรษฐกิจการเงินภูมิภาค
  • เครื่องชี้ภาวะเศรษฐกิจสำคัญ
  • แผนภูมิข้อมูลเศรษฐกิจสำคัญ
  • การรับส่งข้อมูลกับ ธปท.
  • บทความและเอกสารเผยแพร่ด้านสถิติ
  • คู่มือประชาชนด้านสถิติ
  • บริการข้อมูล BOT API
ตารางเวลาเผยแพร่
เงื่อนไขการให้บริการ
นโยบายคุ้มครอง
ข้อมูลส่วนบุคคล
เชื่อมโยง
คำถามถามบ่อย
ติดต่อ ธปท.

©2015 Bank of Thailand. All rights reserved.   ( เว็บไซต์นี้รับชมได้ดี ด้วยเว็บเบราว์เซอร์ Chrome, Safari, Firefox หรือ IE 10 ขึ้นไป )
สอบถาม/ข้อเสนอแนะ/ร้องเรียน
ลงทะเบียนรับข้อมูล/ข่าวสาร


©2015 Bank of Thailand. All rights reserved.