แนวทางการแก้หนี้ครัวเรือนอย่างยั่งยืน

--- คำเกริ่นนำ ---

--- table พี่เรย์  ---

1. “ช่วยลูกหนี้ต่อเนื่อง” ด้วยการปรับโครงสร้างหนี้

เจ้าหนี้ต้องเสนอแผนปรับโครงสร้างหนี้ ทั้งก่อนและหลังลูกหนี้เป็น NPL อย่างน้อย 1 ครั้ง

การปรับโครงสร้างหนี้ภายใต้ Responsible Lending (RL)

สำหรับลูกหนี้กลุ่มไหน

• ประเภทสินเชื่อ: สินเชื่อรายย่อยทุกประเภท เช่น สินเชื่อบ้าน บัตรเครดิต สินเชื่อส่วนบุคคล สินเชื่อเพื่อประกอบอาชีพ (Nano finance) สินเชื่อจำนำทะเบียนรถ และสินเชื่อ SMEs

• สถานะ: ทุกสถานะ (หนี้ปกติ หนี้เริ่มค้างชำระ หนี้เสีย (NPL)

• อาการ: มีปัญหาชำระหนี้ 

ช่วยเหลืออย่างไร

• เจ้าหนี้เสนอแผนปรับโครงสร้างหนี้ 

o ก่อนเป็น NPL* อย่างน้อย 1 ครั้ง และ

o หลังเป็น NPL อย่างน้อย 1 ครั้ง ก่อนถูกฟ้องดำเนินคดี โอนขายหนี้ หรือยึดทรัพย์

*สำหรับลูกหนี้ที่ไม่เคยได้รับการปรับโครงสร้างหนี้

 

• สง. จะไม่โอนขายหนี้ในช่วง 60 วัน หลังเสนอแผนปรับโครงสร้างหนี้

เริ่มเมื่อไร

ม.ค. 67 เป็นต้นไป

ติดต่อที่ไหน

ติดต่อเจ้าหนี้ ผ่านช่องทาง ดังนี้ > คลิก

ต้องเตรียมตัวอย่างไร

• สำรวจสถานะ รายรับ รายจ่าย ประเมินความสามารถในการชำระหนี้

• เตรียมเอกสาร/ข้อมูลให้พร้อม เช่น สลิปเงินเดือน เอกสารแสดงรายรับ รายจ่าย

• พิจารณาทางเลือกปรับโครงสร้างหนี้ที่เหมาะสมกับตนเอง เพื่อไปเจรจากับเจ้าหนี้

• วิธีปรับโครงสร้างหนี้มีอะไรบ้าง >> คลิก

คลินิกแก้หนี้

สำหรับลูกหนี้กลุ่มไหน

• บัตรเครดิต บัตรกดเงินสด สินเชื่อส่วนบุคคลที่ไม่มีหลักประกัน

• มีรายได้ อายุไม่เกิน 70 ปี ไม่เป็นบุคคลล้มละลาย

• เป็นหนี้เสีย (NPL) ค้างชำระมากกว่า 120 วัน

• ยอดหนี้ไม่เกิน 2 ล้านบาท

ช่วยเหลืออย่างไร

• รวมหนี้เสียจากทุกเจ้าหนี้ที่เข้าร่วมโครงการไว้ในที่เดียว โดยผ่อนชำระนานสูงสุด 10 ปี อัตราดอกเบี้ย 3 – 5% ต่อปี 

• สำหรับดอกเบี้ยและค่าปรับค้างชำระเดิมก่อนเข้าโครงการ เจ้าหนี้จะยกให้เมื่อลูกหนี้ชำระได้ครบถ้วนตามสัญญา

ติดต่อที่ไหน

• โทร. 1443

• ดูข้อมูลเพิ่มเติม  https://www.debtclinicbysam.com/

ต้องเตรียมตัวอย่างไร

• สำรวจสถานะ รายรับ รายจ่าย ประเมินความสามารถในการชำระหนี้

• เตรียมเอกสาร/ข้อมูลให้พร้อม เช่น สลิปเงินเดือน เอกสารแสดงรายรับ รายจ่าย

• พิจารณาทางเลือกปรับโครงสร้างหนี้ที่เหมาะสมกับตนเอง เพื่อไปเจรจากับเจ้าหนี้

• วิธีปรับโครงสร้างหนี้มีอะไรบ้าง >> คลิก

2. “ช่วยลูกหนี้เรื้อรังกลุ่มเปราะบาง” ให้สามารถปิดจบหนี้ได้

ปิดจบหนี้เรื้อรังกลุ่มเปราะบาง (Severe Persistent Debt)

สำหรับลูกหนี้กลุ่มไหน

• ลูกหนี้สินเชื่อส่วนบุคคลประเภทวงเงินหมุนเวียน

• จ่ายดอกเบี้ยรวมมากกว่าเงินต้นรวม 5 ปีที่ผ่านมา

o ลูกหนี้ธนาคารพาณิชย์ (ธพ.) หรือ Non-bank ในกลุ่ม ธพ. >> รายได้ต่อเดือน < 20,000 บาท

o ลูกหนี้ Non-bank ที่ไม่อยู่ในกลุ่ม ธพ. >> รายได้ต่อเดือน < 10,000 บาท

ดูรายชื่อสถาบันการเงิน และ Non-bank ที่อยู่ภายใต้กำกับของ ธปท. > คลิก

ช่วยเหลืออย่างไร

• ได้รับการแจ้งเตือนให้เข้าร่วมมาตรการ PD 

• เปลี่ยนเงื่อนไขสัญญาเป็นสินเชื่อที่ผ่อนชำระเป็นงวด (installment loan) ให้ปิดจบหนี้ภายใน 5 ปี 

• ได้ลดอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง ไม่เกิน 15% ต่อปี

เริ่มเมื่อไร

1 เม.ย. 67 เป็นต้นไป

ติดต่อที่ไหน

ติดต่อเจ้าหนี้ ผ่านช่องทาง ดังนี้ > คลิก

กระตุกเตือนหนี้ที่เริ่มมีสัญญาณปัญหาหนี้เรื้อรัง (General Persistent Debt)

สำหรับลูกหนี้กลุ่มไหน

• ลูกหนี้สินเชื่อส่วนบุคคลประเภทวงเงินหมุนเวียน

• จ่ายดอกเบี้ยรวมมากกว่าเงินต้นรวม 3 – 5 ปีที่ผ่านมา

ช่วยเหลืออย่างไร

• จะได้รับการแจ้งเตือนกระตุกพฤติกรรม และสามารถขอความช่วยเหลือให้ชำระหนี้ได้เร็วขึ้น

• ช่องทาง เช่น จดหมาย อีเมล SMS mobile application หรือ LINE Official Account

3. “คุ้มครองสิทธิลูกหนี้” ให้เป็นธรรมยิ่งขึ้น

ปรับปรุงการคิดค่าธรรมเนียมและดอกเบี้ยให้เป็นธรรมขึ้น

ห้ามคิดค่าปรับชำระหนี้ก่อนกำหนด (prepayment fee)

• ประเภทสินเชื่อ: สินเชื่อส่วนบุคคลทุกประเภท

ไม่รวมกรณี refinance สินเชื่อบ้านในช่วงเวลา 3 ปีแรก เพื่อให้ลูกหนี้มีโอกาสได้ดอกเบี้ยต่ำ

• เริ่มเมื่อไร: 1 ม.ค. 67

ห้ามคิดค่าธรรมเนียมการปรับปรุงโครงสร้างหนี้

• ประเภทสินเชื่อ: สินเชื่อทุกประเภท

ยกเว้นกรณี สง. จัดให้ประเมินหลักประกันเพิ่มเพื่อประกอบการกำหนดเงื่อนไขปรับโครงสร้างหนี้

• เริ่มเมื่อไร: 1 ม.ค. 67

ห้ามคิดดอกเบี้ยบนดอกเบี้ย

• ประเภทสินเชื่อ: สินเชื่อรายย่อย รวมกรณีบัญชีเดินสะพัดของสินเชื่อวงเงินกู้เบิกเกินบัญชี (overdraft)

• เริ่มเมื่อไร: 1 ก.ค. 67

 ตัวอย่าง
เดิมสิ่งที่จะเห็น
แสดงเงื่อนไขผลิตภัณฑ์ที่ชัดเจน“ดอกเบี้ย 0%”“ดอกเบี้ย 0% เมื่อจ่ายเต็มจำนวนภายในวันครบกำหนดชำระ”
   
   
   
   

-- end page --

ปรับโครงสร้างหนี้ภายใต้เกณฑ์การให้สินเชื่ออย่างรับผิดชอบและเป็นธรรม (Responsible lending)

• เจ้าหนี้เสนอแผนปรับโครงสร้างหนี้ 

- ก่อนเป็น NPL* อย่างน้อย 1 ครั้ง และ

- หลังเป็น NPL อย่างน้อย 1 ครั้ง ก่อนถูกฟ้องดำเนินคดี โอนขายหนี้ หรือยึดทรัพย์

*สำหรับลูกหนี้ที่ไม่เคยได้รับการปรับโครงสร้างหนี้

• สถาบันการเงินจะไม่โอนขายหนี้ในช่วง 60 วัน หลังเสนอแผนปรับโครงสร้างหนี้

• ประเภทสินเชื่อ: สินเชื่อรายย่อยทุกประเภท เช่น สินเชื่อบ้าน บัตรเครดิต สินเชื่อส่วนบุคคล สินเชื่อเพื่อประกอบอาชีพ (Nano finance) สินเชื่อจำนำทะเบียนรถ และสินเชื่อ SMEs

• สถานะหนี้: ทุกสถานะ (หนี้ปกติ หนี้เริ่มค้างชำระ และหนี้เสีย)

แก้หนี้ยั่งยืน

เจ้าหนี้ต้องเสนอแผนปรับโครงสร้างหนี้ ทั้งก่อนและหลังลูกหนี้เป็น NPL อย่างน้อย 1 ครั้ง

ปิดจบหนี้เรื้อรังกลุ่มเปราะบาง (Severe Persistent Debt)

สำหรับลูกหนี้กลุ่มไหน

• ลูกหนี้สินเชื่อส่วนบุคคลประเภทวงเงินหมุนเวียน

• จ่ายดอกเบี้ยรวมมากกว่าเงินต้นรวม 5 ปีที่ผ่านมา

o ลูกหนี้ธนาคารพาณิชย์ (ธพ.) หรือ Non-bank ในกลุ่ม ธพ. >> รายได้ต่อเดือน < 20,000 บาท

o ลูกหนี้ Non-bank ที่ไม่อยู่ในกลุ่ม ธพ. >> รายได้ต่อเดือน < 10,000 บาท

ดูรายชื่อสถาบันการเงิน และ Non-bank ที่อยู่ภายใต้กำกับของ ธปท. > คลิก

ช่วยเหลืออย่างไร

• ได้รับการแจ้งเตือนให้เข้าร่วมมาตรการ PD 

• เปลี่ยนเงื่อนไขสัญญาเป็นสินเชื่อที่ผ่อนชำระเป็นงวด (installment loan) ให้ปิดจบหนี้ภายใน 5 ปี 

• ได้ลดอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง ไม่เกิน 15% ต่อปี

เริ่มเมื่อไร

1 เม.ย. 67 เป็นต้นไป

ติดต่อที่ไหน

ติดต่อเจ้าหนี้ ผ่านช่องทาง ดังนี้ > คลิก

คลินิกแก้หนี้

สำหรับลูกหนี้กลุ่มไหน

• บัตรเครดิต บัตรกดเงินสด สินเชื่อส่วนบุคคลที่ไม่มีหลักประกัน

• มีรายได้ อายุไม่เกิน 70 ปี ไม่เป็นบุคคลล้มละลาย

• เป็นหนี้เสีย (NPL) ค้างชำระมากกว่า 120 วัน

• ยอดหนี้ไม่เกิน 2 ล้านบาท

ช่วยเหลืออย่างไร

• รวมหนี้เสียจากทุกเจ้าหนี้ที่เข้าร่วมโครงการไว้ในที่เดียว โดยผ่อนชำระนานสูงสุด 10 ปี อัตราดอกเบี้ย 3 – 5% ต่อปี 

• สำหรับดอกเบี้ยและค่าปรับค้างชำระเดิมก่อนเข้าโครงการ เจ้าหนี้จะยกให้เมื่อลูกหนี้ชำระได้ครบถ้วนตามสัญญา

ติดต่อที่ไหน

• โทร. 1443

• ดูข้อมูลเพิ่มเติม  https://www.debtclinicbysam.com/

ต้องเตรียมตัวอย่างไร

• สำรวจสถานะ รายรับ รายจ่าย ประเมินความสามารถในการชำระหนี้

• เตรียมเอกสาร/ข้อมูลให้พร้อม เช่น สลิปเงินเดือน เอกสารแสดงรายรับ รายจ่าย

• พิจารณาทางเลือกปรับโครงสร้างหนี้ที่เหมาะสมกับตนเอง เพื่อไปเจรจากับเจ้าหนี้

• วิธีปรับโครงสร้างหนี้มีอะไรบ้าง >> คลิก

ปิดจบหนี้เรื้อรังกลุ่มเปราะบาง (Severe Persistent Debt)

สำหรับลูกหนี้กลุ่มไหน

• ลูกหนี้สินเชื่อส่วนบุคคลประเภทวงเงินหมุนเวียน

• จ่ายดอกเบี้ยรวมมากกว่าเงินต้นรวม 5 ปีที่ผ่านมา

o ลูกหนี้ธนาคารพาณิชย์ (ธพ.) หรือ Non-bank ในกลุ่ม ธพ. >> รายได้ต่อเดือน < 20,000 บาท

o ลูกหนี้ Non-bank ที่ไม่อยู่ในกลุ่ม ธพ. >> รายได้ต่อเดือน < 10,000 บาท

ดูรายชื่อสถาบันการเงิน และ Non-bank ที่อยู่ภายใต้กำกับของ ธปท. > คลิก

ช่วยเหลืออย่างไร

• ได้รับการแจ้งเตือนให้เข้าร่วมมาตรการ PD 

• เปลี่ยนเงื่อนไขสัญญาเป็นสินเชื่อที่ผ่อนชำระเป็นงวด (installment loan) ให้ปิดจบหนี้ภายใน 5 ปี 

• ได้ลดอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง ไม่เกิน 15% ต่อปี

เริ่มเมื่อไร

1 เม.ย. 67 เป็นต้นไป

ติดต่อที่ไหน

ติดต่อเจ้าหนี้ ผ่านช่องทาง ดังนี้ > คลิก

กระตุกเตือนหนี้ที่เริ่มมีสัญญาณปัญหาหนี้เรื้อรัง (General Persistent Debt)

สำหรับลูกหนี้กลุ่มไหน

• ลูกหนี้สินเชื่อส่วนบุคคลประเภทวงเงินหมุนเวียน

• จ่ายดอกเบี้ยรวมมากกว่าเงินต้นรวม 3 – 5 ปีที่ผ่านมา

ช่วยเหลืออย่างไร

• จะได้รับการแจ้งเตือนกระตุกพฤติกรรม และสามารถขอความช่วยเหลือให้ชำระหนี้ได้เร็วขึ้น

• ช่องทาง เช่น จดหมาย อีเมล SMS mobile application หรือ LINE Official Account

ปรับปรุงการคิดค่าธรรมเนียมและดอกเบี้ยให้เป็นธรรมขึ้น

ห้ามคิดค่าปรับชำระหนี้ก่อนกำหนด (prepayment fee)

• ประเภทสินเชื่อ: สินเชื่อส่วนบุคคลทุกประเภท

ไม่รวมกรณี refinance สินเชื่อบ้านในช่วงเวลา 3 ปีแรก เพื่อให้ลูกหนี้มีโอกาสได้ดอกเบี้ยต่ำ

• เริ่มเมื่อไร: 1 ม.ค. 67

ห้ามคิดค่าธรรมเนียมการปรับปรุงโครงสร้างหนี้

• ประเภทสินเชื่อ: สินเชื่อทุกประเภท

ยกเว้นกรณี สง. จัดให้ประเมินหลักประกันเพิ่มเพื่อประกอบการกำหนดเงื่อนไขปรับโครงสร้างหนี้

• เริ่มเมื่อไร: 1 ม.ค. 67

ห้ามคิดดอกเบี้ยบนดอกเบี้ย

• ประเภทสินเชื่อ: สินเชื่อรายย่อย รวมกรณีบัญชีเดินสะพัดของสินเชื่อวงเงินกู้เบิกเกินบัญชี (overdraft)

• เริ่มเมื่อไร: 1 ก.ค. 67