เสถียรภาพระบบการเงิน

ดูแลระบบการเงินให้สามารถบริการประชาชนได้อย่างราบรื่น
และสนับสนุนเศรษฐกิจไทยให้เติบโตอย่างยั่งยืน

เสถียรภาพระบบการเงิน คือ ระบบการเงินที่สามารถให้บริการทางการเงินได้อย่างราบรื่นและทนทานต่อแรงกดดันจากปัจจัยไม่คาดฝันต่าง ๆ ได้ดี

ความสำคัญของ
เสถียรภาพระบบการเงิน

ระบบการเงินที่มีเสถียรภาพทำให้คุณภาพชีวิตของประชาชนไทยดีขึ้นและสนับสนุนให้เศรษฐกิจเติบโตอย่างยั่งยืน อีกทั้งลดโอกาสการเกิดวิกฤติทางเศรษฐกิจ

ธนาคารกลางติดตามและดูแลความเสี่ยงต่อเสถียรภาพระบบการเงินให้อยู่ในระดับที่เหมาะสม อีกทั้งประสานความร่วมมือกับหน่วยงานกำกับดูแลอื่น ๆ เพื่อให้การดูแลเสถียรภาพระบบการเงินเป็นไปอย่างรอบด้าน

talking

บทบาทของธนาคารกลางในการดูแลเสถียรภาพระบบการเงิน 

ธนาคารกลางติดตามและดูแลความเสี่ยงต่อเสถียรภาพระบบการเงินให้อยู่ในระดับที่เหมาะสม อีกทั้งประสานความร่วมมือกับหน่วยงานกำกับดูแลอื่น ๆ เพื่อให้การดูแลเสถียรภาพระบบการเงินเป็นไปอย่างรอบด้าน

ธนาคารกลางติดตามและดูแลความเสี่ยงต่อเสถียรภาพระบบการเงินให้อยู่ในระดับที่เหมาะสม อีกทั้งประสานความร่วมมือกับหน่วยงานกำกับดูแลอื่น ๆ เพื่อให้การดูแลเสถียรภาพระบบการเงินเป็นไปอย่างรอบด้าน

protect

การประเมินความเสี่ยงต่อเสถียรภาพระบบการเงินของ ธปท.

ต้องประเมินอย่างรอบด้านและเป็นลักษณะการมองไปข้างหน้า (forward looking) โดยคำนึงถึงความเชื่อมโยงระหว่างภาคส่วนต่าง ๆ (interconnectedness) และการส่งผ่านไปยังระบบเศรษฐกิจการเงิน (macro-financial linkages)

ธนาคารกลางติดตามและดูแลความเสี่ยงต่อเสถียรภาพระบบการเงินให้อยู่ในระดับที่เหมาะสม อีกทั้งประสานความร่วมมือกับหน่วยงานกำกับดูแลอื่น ๆ เพื่อให้การดูแลเสถียรภาพระบบการเงินเป็นไปอย่างรอบด้าน

talking

นโยบายดูแลความเสี่ยงต่อเสถียรภาพระบบการเงิน (Macro-prudential : MaPP)

มีเป้าหมายหลักเพื่อลดการก่อตัวของความเสี่ยงเชิงระบบ (systemic risk) ซึ่งต้องสอดคล้องกับนโยบายการเงิน (Monetary policy) และเกณฑ์กำกับดูแลสถาบันการเงิน (Micro-prudential) โดยการออกนโยบาย MaPP ต้องโปร่งใสและมีการประเมินผลอย่างต่อเนื่อง

ธนาคารกลางติดตามและดูแลความเสี่ยงต่อเสถียรภาพระบบการเงินให้อยู่ในระดับที่เหมาะสม อีกทั้งประสานความร่วมมือกับหน่วยงานกำกับดูแลอื่น ๆ เพื่อให้การดูแลเสถียรภาพระบบการเงินเป็นไปอย่างรอบด้าน

talking