BOX 1
ธนบัตรที่ระลึกเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ 28 กรกฎาคม 2567
รายงานประจำปีธนาคารแห่งประเทศไทย 2567
Striking the Right Balance:
สู่สมดุลเศรษฐกิจไทยในโลกที่ท้าทาย
ในปี 2567 ภายใต้สถานการณ์ที่เศรษฐกิจไทยยังฟื้นตัวไม่ทั่วถึง และต้องเผชิญกับความท้าทายทั้งจากปัจจัยภายในและเศรษฐกิจโลก ธปท. ให้ความสำคัญกับการทำงานที่มีความยืดหยุ่นและพร้อมปรับตัวให้สอดรับกับบริบทที่เปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ ผ่านการชั่งน้ำหนักและออกแบบมาตรการให้ตรงจุด มีประสิทธิผล และสร้างผลข้างเคียงที่ไม่พึงประสงค์ให้น้อยที่สุด โดยคำนึงถึงความสมดุลระหว่างการเร่งบรรเทาความเดือดร้อนของประชาชนและภาคธุรกิจโดยเฉพาะกลุ่มเปราะบาง และการวางรากฐานให้กับภาคการเงินไทยในระยะยาว
รายงานประจำปี 2567
Striking the Right Balance: สู่สมดุลเศรษฐกิจไทยในโลกที่ท้าทาย
.
.
ธนบัตรที่ระลึกเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ 28 กรกฎาคม 2567
เสริมแกร่งท้องถิ่นไทย
หัวใจใหม่ของการพัฒนา
กรอบเงินเฟ้อสำคัญต่อ
นโยบายการเงินอย่างไร?
เติมพลัง SMEs เพื่อให้คนไทย
เข้าถึงแหล่งเงินทุนได้ง่ายกว่าที่เคย
คุณสู้ เราช่วย
บทบาทของมาตรการ Responsible Lending ในการแก้หนี้อย่างยั่งยืน
ธปท. กับภารกิจพิชิตภัยการเงิน
Financing the Transition:
พลังภาคการเงินเพื่อการปรับตัวสู่
ความยั่งยืนของธุรกิจไทย
สนามทดลองแก้หนี้
จากโลกความรู้ สู่โลกความจริง
.
ปัญหาเชิงโครงสร้างคืออะไร
และจะแก้ไขปัญหาได้อย่างไร?
ธปท. ใช้ข้อมูลอะไร
ในการวิเคราะห์ภาพเศรษฐกิจไทย?
เงินเฟ้อไทยที่ต่ำกว่ากรอบเป้าหมาย
เกิดจากอะไร น่ากังวลหรือไม่?
ทำไม กนง. ไม่ลดอัตราดอกเบี้ย
เพื่อบรรเทาภาระหนี้ให้ประชาชน
ในช่วงที่เศรษฐกิจไม่ดี?
ธปท. ดูแลค่าเงินบาท
ไม่ให้ผันผวนอย่างไร?
มาตรการกำกับดูแลสินเชื่อที่อยู่อาศัยของ ธปท. ทำให้คนเข้าไม่ถึงสินเชื่อบ้านจริงหรือไม่?
จริงหรือไม่ ที่อัตราดอกเบี้ย
ในช่วงที่ผ่านมาทำให้สภาพคล่องตึงตัว และคนเข้าไม่ถึงสินเชื่อ?
FIDF Fee คืออะไร
และใครคือผู้รับภาระต้นทุน?
การปรับโครงสร้างหนี้ทำให้เสียประวัติและจะเข้าถึงสินเชื่อได้ยากขึ้นในอนาคตจริงหรือไม่?
ใครควรต้องรับผิดชอบต่อความเสียหายที่เกิดขึ้นจากภัยการเงิน?