ถุงมือยางไทย…ปลดล็อกอย่างไรให้สดใสในโลกหลัง COVID-19

ณิชมล ปัญญาวชิโรกุล | วริทธิ์นันท์ ชุมประเสริฐ | ณรงค์ฤทธิ์ อดุลย์ฐานานุศักดิ์ ฝ่ายนโยบายโครงสร้างเศรษฐกิจ ธนาคารแห่งประเทศไทย

22 ก.พ. 2564

ไทยควรคว้าโอกาสจากการเติบโตของอุตสาหกรรมถุงมือยางโลกชูจุดเด่นของถุงมือยางธรรมชาติ ควบคู่กับส่งเสริมถุงมือยางสังเคราะห์ภาครัฐต้องช่วยปลดล็อกข้อจำกัด เพื่อสร้างระบบนิเวศที่เหมาะสมที่เอื้อต่อการเติบโตในโลกหลัง COVID-19

ถุงมือยางเติบโตต่อเนื่องกว่า 2 ทศวรรษ จากความตื่นตัวด้านสาธารณสุข และมีแนวโน้มเติบโตได้ดีในอนาคต

 

•  อุตสาหกรรมถุงมือยางเติบโตต่อเนื่องกว่า 2 ทศวรรษ โดยเฉพาะช่วงที่เกิดโรคระบาด เช่น SARS (2545) ไข้หวัดใหญ่ H5N1 (2550) ไข้หวัดใหญ่ H1N1 (2552) และ COVID-19 (2563)

 

•  COVID-19 ทำให้ถุงมือยางขาดตลาดกว่า 1 แสนล้านชิ้น ในปี 2563 จากความต้องการที่เพิ่มขึ้น 35% ขณะที่การผลิตขยายตัวเพียง 20%

 

•  แนวโน้มคาดว่าความต้องการถุงมือยางยังเติบโตเฉลี่ย 15% ต่อปี จากการเพิ่มขึ้นของประชากรโลก ความตื่นตัวด้านสาธารณสุข  การเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ และการเติบโตของกลุ่มชนชั้นกลางในประเทศกำลังพัฒนา 1/

gloves1
gloves2

ไทยได้รับประโยชน์จากความต้องการถุงมือยางที่เพิ่มขึ้น จากการแพร่ระบาดของ COVID-19 ในปี 2563

wellness3
gloves4

อุตสาหกรรมถุงมือยางไทยต้องใช้จุดแข็งสร้างโอกาสเติบโต และปลดล็อกข้อจำกัด

gloves5

ผลการศึกษา/วิเคราะห์ SWOT และพูดคุยกับผู้เกี่ยวข้องเห็นว่า ไทยควรปรับตัวเพื่อสร้างโอกาสในโลกหลัง COVID-19

gloves6
gloves7
gloves8
gloves9

 

หมายเหตุ : 1/ The emergency of the middle class: an emerging-country phenomenon (CaixaBank Research, 2019)

 

 

 

“บทความนี้เป็นข้อคิดเห็นส่วนบุคคล ซึ่งไม่จำเป็นต้องสอดคล้องกับข้อคิดเห็นของธนาคารแห่งประเทศไทย”

.

.

.