ศูนย์บริหารเงิน

นิติบุคคลที่ได้รับอนุญาตให้ประกอบธุรกิจเกี่ยวกับการบริหารจัดการเงินตราต่างประเทศให้กับบริษัทในเครือทั้งในประเทศไทยและในต่างประเทศ โดยมีขอบเขตการประกอบธุรกิจ 4 ขอบเขต ดังนี้

1. การรับซื้อภาระผูกพันหรือเอกสารเรียกเก็บเงินค่าสินค้าหรือบริการ ระหว่างประเทศ (Re-Invoicing) หรือเป็นตัวแทนในการรับจ่ายเงินตราต่างประเทศให้แก่บริษัทในเครือ (Agent)

2. การหักกลบรายได้หรือภาระผูกพัน (Netting)

3. การซื้อ ขาย หรือแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ และบริหารความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน

4. การบริหารสภาพคล่อง

รายละเอียด

  • ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง คำสั่งรัฐมนตรีให้ไว้แก่ศูนย์บริหารเงิน (*ประมวลล่าสุดถึงฉบับที่ 4)

  • ประกาศเจ้าพนักงานควบคุมการแลกเปลี่ยนเงิน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจเป็นศูนย์บริหารเงิน (*ประมวลล่าสุดถึงฉบับที่ 3)

  • สรุปหลักเกณฑ์และวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับศูนย์บริหารเงิน (ปรับปรุงล่าสุด ณ วันที่ 11 พฤศจิกายน 2562)

  • 1. คำร้องขอประกอบธุรกิจเป็นศูนย์บริหารเงิน ขอใบแทนใบอนุญาต และขอยกเลิกประกอบธุรกิจ

  • 2. หนังสือรับรองผู้ประสงค์จะประกอบธุรกิจเกี่ยวกับปัจจัยชำระเงินต่างประเทศ หนังสือรับรองกรรมการหรือผู้ซึ่งมีอำนาจในการจัดการ และหนังสือรับรองผู้ถือหุ้นรายใหญ่ (กรณียื่นคำร้องขอประกอบธุรกิจเป็นศูนย์บริหารเงิน)

  • 3. คำแนะนำในการจัดทำเอกสารและหนังสือรับรอง และการขอตรวจสอบประวัติอาชญากรรมกับสำนักงานตำรวจแห่งชาติ (สตช.) (กรณียื่นคำร้องขอประกอบธุรกิจเป็นศูนย์บริหารเงิน)

  • 4. คำร้องขออนุญาตเปลี่ยนแปลงข้อมูลของผู้ประกอบธุรกิจศูนย์บริหารเงิน

  • 5. หนังสือรับรองผู้ประกอบธุรกิจเกี่ยวกับปัจจัยชำระเงินต่างประเทศ หนังสือรับรองกรรมการหรือผู้ซึ่งมีอำนาจในการจัดการ และหนังสือรับรองผู้ถือหุ้นรายใหญ่ (กรณีเปลี่ยนแปลงข้อมูลหลังได้รับใบอนุญาต)

  • 6. หนังสือรับรองคุณสมบัติการประกอบธุรกิจเป็นศูนย์บริหารเงิน

  • ตัวอย่างหนังสือมอบอำนาจของศูนย์บริหารเงิน (กรณีผู้มีอำนาจลงนามไม่มายื่นด้วยตนเอง)

  • ตัวอย่างหนังสือมอบอำนาจให้ศูนย์บริหารเงินทำหน้าที่บริหารเงินตราต่างประเทศแทน

  • ภาษีเกี่ยวกับศูนย์บริหารเงิน

  • รายชื่อของศูนย์บริหารเงิน