.

Monetary Policy

Editor’s welcome

 

สวัสดีค่ะผู้อ่านทุกท่าน พบกันครั้งแรก ดิฉันก็หอบหิ้วเอาพระสยาม BOT MAGAZINE ที่จัดว่าเข้มข้นที่สุดฉบับหนึ่งมาฝากกันเลยทีเดียว แอบกระซิบว่า เล่มนี้เป็นฉบับคุณขอมาค่ะ เพราะแฟนคลับของเราบอกกับกองบรรณาธิการว่า อยากรู้ insight ของการประชุมคณะกรรมการนโยบายการเงิน (กนง.) ซึ่งจะเป็น theme ที่ทันต่อเหตุการณ์มาก ๆ

 

การประกาศขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายเมื่อเดือนกันยายน 2566 เป็นการปรับขึ้นต่อเนื่องเป็นครั้งที่ 8 ทำให้อัตราดอกเบี้ยนโยบายอยู่ที่่ 2.50% ต่อปี และ กนง. ได้สื่อสารว่า อัตราดอกเบี้ยนโยบายนี้้เหมาะสมกับการขยายตัวของเศรษฐกิจอย่างมีเสถียรภาพ โดยในระยะข้างหน้าจะมีการพิจารณาให้เหมาะสมกับแนวโน้มเศรษฐกิจและเงินเฟ้อที่่อาจมีแรงส่งเพิ่มเติม

bot magazine 3-66
Highlight
 

"Just Right” นโยบายการเงิน อุณหภูมิที่สบาย และความหมายของ "สมดุล"

 

# Monetary policy #

 

ข้อสรุปหนึ่งที่พระสยาม BOT MAGAZINE ค้นพบระหว่างการสำรวจคำอธิบาย “นโยบายการเงิน” คือ ธนาคารกลางทุกประเทศพยายามอย่างเต็มที่ในการสื่อสารว่า นโยบายการเงินคืออะไร และสำคัญอย่างไร เพราะยิ่งสาธารณชนมีความเข้าใจในนโยบายการเงินมากเท่าไหร่ การดำเนินนโยบายการเงินก็จะยิ่งมีประสิทธิภาพมากขึ้นเท่านั้น 

 

ดังนั้น พื้นที่คอลัมน์ highlight ในพระสยาม BOT MAGAZINE ฉบับนี้ อยากขอนำเสนอวิธีการทำความเข้าใจนโยบายการเงินแบบสนุก ๆ ไว้เป็นทางเลือกสำหรับผู้อ่านอีกทางหนึ่ง

title-icon็Highlight
2 executives in library

bot magazine 3-66

Special Scoop

 

BEHIND THE SCENES

เปิดเบื้องหลังการประชุม กนง.

 

# Timeline #

 

วังบางขุนพรหมตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา บริเวณเชิงสะพานพระราม 8 ประตูรั้วของที่นี่ได้ชื่อว่าสวยที่สุดในยุคหนึ่งของไทย เมื่อมองเข้าไปจะพบกับธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) สำนักงานใหญ่ ที่นี่เป็นศูนย์กลางในการกำหนดนโยบายการเงินหรือการขยับอัตราดอกเบี้ยนโยบาย อันจะมีผลไปทั่วทั้งเศรษฐกิจไทย ในบทความนี้ ผมขอชวนทุกท่านเดินเข้ามาในรั้ววังบางขุนพรหม เพื่อชมเบื้องหลังการประชุมการกำหนดนโยบายการเงินกัน 

title-iconHighlight

จาก “มนต์แคน แก่นคูน” ถึงการหมดยุคของ “เมืองโตเดี่ยว” ทำไมเศรษฐกิจภูมิภาคถึงเป็นอนาคตของประเทศไทย

คงไม่เกินจริงไปนักหากจะบอกว่า ในเชิงวัฒนธรรมแล้ว คนกำหนดรสนิยมกระแสหลักของสังคมไทยไม่ใช่แค่เพียง“กรุงเทพฯ” หรือ “ส่วนกลาง” อีกต่อไป เพราะในโลกใหม่โอกาสและความเป็นไปได้มีได้มากกว่าหนึ่งแบบ
2 executives

bot magazine 3-66
Executive's Talk
 

เปิด "ห้องประชุม กนง."

คุยเบื้องลึกการทำนโยบายการเงินกับ
ปิติ ดิษยทัต

 

# MPC #

 

หลายคนรู้ดีว่า “ราคา” และ “เงินตรา” ของเศรษฐกิจตั้งแต่ภาพใหญ่ของประเทศ ไปจนถึงหน่วยเล็ก ๆ ระดับชุมชน ล้วนมีความเกี่ยวข้องและเชื่อมโยงกับภารกิจขององค์กรที่ดูแลด้านนโยบายเศรษฐกิจการเงินของชาติ แต่จำนวนไม่น้อยก็อาจยังไม่เคยรู้ว่า “นโยบายการเงิน” นั้นมีเบื้องหลังวิธีคิดอย่างไร

 

มาพูดคุยกับ ดร.ปิติ ดิษยทัต ผู้ช่วยผู้ว่าการ สายนโยบายการเงิน และเลขานุการ กนง. เพื่อชวนคิดชวนคุยเกี่ยวกับการตัดสินใจขึ้นดอกเบี้ยนโยบายครั้งล่าสุดของ กนง. และแนวคิดเบื้องลึกเบื้องหลังการตัดสินใจนโยบายการเงินควบคู่กันไป 

 

title-iconExecutive's Talk
2 executives in library

bot magazine 3-66

The Knowledge

 

จับชีพจร พยากรณ์แนวโน้มเศรษฐกิจไทยไปกับ
บัณณรี ปัณณราช

 

# Econ forecast #

 

หนึ่งในหน้าที่ของ ธปท. ในฐานะผู้ดูแลเสถียรภาพทางเศรษฐกิจของประเทศ คือ การจับชีพจรเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นในช่วงที่ผ่านมา เพื่อใช้วิเคราะห์ความเป็นไปได้ของสถานการณ์ที่อาจเกิดขึ้นต่อไป และนำมาวาดภาพแนวโน้มเศรษฐกิจในระยะข้างหน้า เพื่อประกอบการกำหนดนโยบายและเตรียมมาตรการต่าง ๆ ในการรับมืออย่างเหมาะสมและเท่าทัน

 

พระสยาม BOT MAGAZINE ฉบับนี้ ชวนผู้อ่านมาพูดคุยกับคุณบัณณรี ปัณณราช ผู้อำนวยการ
ฝ่ายเศรษฐกิจมหภาค
หนึ่งในทีมงานที่ทำหน้าที่จับชีพจรและพยากรณ์เศรษฐกิจให้กับ ธปท. และคณะกรรมการนโยบายการเงิน (กนง.) 

title-iconHighlight

จาก “มนต์แคน แก่นคูน” ถึงการหมดยุคของ “เมืองโตเดี่ยว” ทำไมเศรษฐกิจภูมิภาคถึงเป็นอนาคตของประเทศไทย

คงไม่เกินจริงไปนักหากจะบอกว่า ในเชิงวัฒนธรรมแล้ว คนกำหนดรสนิยมกระแสหลักของสังคมไทยไม่ใช่แค่เพียง“กรุงเทพฯ” หรือ “ส่วนกลาง” อีกต่อไป เพราะในโลกใหม่โอกาสและความเป็นไปได้มีได้มากกว่าหนึ่งแบบ
2 executives

bot magazine 3-66
เศรษฐกิจติดดิน
 
ทำความรู้จัก BLP ม้าเร็วส่งสาร-ให้สัญญาณเศรษฐกิจไทย
 

 

# BLP #

 

การดำเนินนโยบายการเงินเพื่อดูแลเสถียรภาพเศรษฐกิจการเงินไทย มีความท้าทายจากทั้งปัจจัยภายในและภายนอกประเทศ ข้อมูลเชิงคุณภาพที่ถูกต้อง ชัดเจน และรวบรวมได้อย่างรวดเร็ว จึงมีบทบาทสำคัญที่ช่วยให้คณะกรรมการนโยบายการเงิน (กนง.) เห็นภาพเศรษฐกิจไทย รวมไปถึงนำไปประกอบการพิจารณาอัตราดอกเบี้ยนโยบายที่เหมาะสม และกลุ่ม “ม้าเร็ว” ที่ทำหน้าที่รวบรวมข้อมูลสำคัญจากทุกภูมิภาคของไทยนี้ อยู่ภายใต้โครงการที่มีชื่อว่า Business Liaison Program หรือที่เรียกสั้น ๆ ว่า BLP นั่นเอง

2 executives in library

bot magazine 3-66

The Knowledge 

 

 

จากห้องแห่งความลับสู่โพเดียมแถลงข่าว
ย้อนดูการสื่อสารนโยบายการเงินจากอดีตถึงปัจจุบัน

# Communication #

 

การสื่อสารนับเป็นเครื่องมือสำคัญอย่างหนึ่งในการทำนโยบายการเงิน แต่กว่าจะมาเป็นการส่งสัญญาณที่ค่อนข้างเปิดเผยแบบทุกวันนี้ ธนาคารกลางทั่วโลกต้องผ่านการเปลี่ยนแปลงและแนวคิดมากมาย พระสยาม BOT MAGAZINE ฉบับนี้ ขอชวนผู้อ่านร่วมเดินทางย้อนกลับไป ตั้งแต่ยุคสมัยที่การตัดสินนโยบายการเงินเป็นความลับ จนมาถึงปัจจุบันที่มีการเปิดเผยถึงแนวคิดของคณะกรรมการนโยบายการเงินอย่างโปร่งใส ไปจนถึงการตอบคำถามที่ประชาชนสงสัยแบบเรียลไทม์ผ่านสื่อสังคมออนไลน์

title-iconHighlight

จาก “มนต์แคน แก่นคูน” ถึงการหมดยุคของ “เมืองโตเดี่ยว” ทำไมเศรษฐกิจภูมิภาคถึงเป็นอนาคตของประเทศไทย

คงไม่เกินจริงไปนักหากจะบอกว่า ในเชิงวัฒนธรรมแล้ว คนกำหนดรสนิยมกระแสหลักของสังคมไทยไม่ใช่แค่เพียง“กรุงเทพฯ” หรือ “ส่วนกลาง” อีกต่อไป เพราะในโลกใหม่โอกาสและความเป็นไปได้มีได้มากกว่าหนึ่งแบบ
2 executives

Knowledge Corner

policy rate

The Knowledge

จะเกิดอะไรบ้าง ถ้าแบงก์ชาติขึ้นดอกเบี้ย

 

# Interest rate #

 

เมื่อคณะกรรมการนโยบายการเงิน (กนง.) ประกาศขึ้น คง หรือลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายเพื่อดูแลอัตราเงินเฟ้อให้อยู่ในกรอบเป้าหมาย บางคนอาจรู้สึกว่าเป็นเรื่องไกลตัว แต่ความจริงแล้ว กลไกการทำงานของอัตราดอกเบี้ยนโยบาย จะส่งผลต่อเงินเฟ้อและระบบเศรษฐกิจผ่านพฤติกรรมของเราและธุรกิจนั่นเอง ดังนั้น มาทำความเข้าใจกันแบบง่าย ๆ ว่าดอกเบี้ยนโยบายเข้าไปมีบทบาทอย่างไรกับระบบเศรษฐกิจ และทำไมธนาคารกลางหลายแห่งทั่วโลกจึงใช้สิ่งนี้เป็นเครื่องมือหลักในการทำนโยบายการเงิน 

อ่านต่อ
children hold hands

The Knowledge

4 ความเข้าใจผิด ที่คนคิดเกี่ยวกับ กนง.

 

# Misconception #

 

ทุกครั้งที่คณะกรรมการนโยบายการเงิน (กนง.) ตัดสินใจขึ้นหรือลดอัตราดอกเบี้ยนโยบาย ย่อมส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจของประเทศเป็นวงกว้าง มีทั้งผู้ได้และเสียประโยชน์ หลายคนอาจสงสัยว่า กนง. ตัดสินนโยบายการเงินบนหลักการอะไร จำเป็นหรือไม่ที่ต้องดำเนินนโยบายตามปัจจัยด้านต่างประเทศ และต้องสอดคล้องกับทิศทางของประเทศเศรษฐกิจหลักเสมอ วันนี้พระสยาม BOT MAGAZINE จะมาไข 4 ข้อสงสัยที่คนมักเข้าใจผิดเกี่ยวกับ กนง.

อ่านต่อ

interest rate loan
Financial Wisdom
 
ดอกเบี้ยเคลียร์ใจ

 

# Financial Literacy #

 

ดอกเบี้ยเป็นเรื่องสำคัญและมีบทบาทในชีวิตของคนส่วนใหญ่ ความรู้เกี่ยวกับดอกเบี้ยจึงเป็นเรื่องพื้นฐานที่เราควรทราบ เพราะถ้าเราไม่รู้หรือเข้าใจผิดก็มักทำให้เกิดผลเสีย เช่น ลูกหนี้ต้องเสียดอกเบี้ยมาก ทั้ง ๆ ที่มีวิธีที่จะช่วยประหยัดดอกเบี้ยได้ หรือเสียดอกเบี้ยมากโดยไม่รู้ตัว เพราะเข้าใจผิดเรื่องเงื่อนไขการคำนวณ

 

Financial Wisdom ฉบับนี้จึงขอยกตัวอย่าง 4 เรื่องที่พบว่ามีหลาย ๆ คนเข้าใจผิดมาเคลียร์ให้เข้าใจกัน 

 
interest rate loan

Online Only

policy rate

Executive's Talk

เบื้องหลังของด่านหน้าแก้ปัญหา “ภัยทางการเงิน” ของสิริธิดา พนมวัน ณ อยุธยา

พาดหัวข่าวที่เราเห็นและได้ยินกันเป็นประจำในชีวิตประจำวัน จนหลายคนหวาดหวั่นว่าคดีดังกล่าวจะเกิดขึ้นกับตัวเมื่อไร จะเตรียมตัวป้องกันอย่างไรได้ทันเมื่อมิจฉาชีพสมัยใหม่ปรับเปลี่ยนรูปแบบการหลอกลวงไปไม่ซ้ำแต่ละวัน 

มาพูดคุยกับคุณสิริธิดา พนมวัน ณ อยุธยา ผู้ช่วยผู้ว่าการ สายกำกับระบบการชำระเงินและคุ้มครองผู้ใช้บริการทางการเงิน ธปท. ถึงเบื้องหลัง “วอร์รูม” การออกมาตรการจัดการภัยทุจริตทางการเงิน สำหรับเป็นแนวปฏิบัติขั้นต่ำให้สถาบันการเงินทุกแห่งปฏิบัติเป็นมาตรฐานเดียวกันในทุกขั้นตอน ตั้งแต่การป้องกัน ตรวจจับ และรับมือ ทุกขั้นตอนที่ต้องเกี่ยวข้องกับหน่วยงานหลายฝ่าย ในการสื่อสารและหาทางร่วมกันเพื่อผลประโยชน์สูงสุดของประชาชน

อ่านต่อ
children hold hands

Thought leader

พล.ต.ต.นิเวศน์ อาภาวศิน กับภารกิจป้องกันและปราบปรามปัญหาภัยการเงินออนไลน์

สำหรับประเทศไทยนับเป็นเวลาเพียง 3 ปี ในการก่อตั้งกองบัญชาการตำรวจสืบสวนสอบสวนอาชญากรรมทางเทคโนโลยี แต่ด้วยภารกิจและเป้าหมายสำคัญในการปราบปรามอาชญากรรมทางเทคโนโลยีที่มีมากขึ้นทั่วราชอาณาจักรไทย ส่งผลให้ประชาชนได้เห็นการจับกุม กวาดล้าง และช่วยเหลือผู้ตกเป็นเหยื่ออาชญากรรมไซเบอร์รูปแบบต่าง ๆ เป็นระยะ พร้อมด้วยการสื่อสารประชาสัมพันธ์ข้อมูลความรู้ให้ประชาชนตระหนักและรู้เท่าทันผ่านโครงการวัคซีนไซเบอร์

วารสารพระสยาม BOT MAGAZINE มีโอกาสได้พูดคุยกับ พล.ต.ต.นิเวศน์ อาภาวศิน รองผู้บัญชาการตำรวจสืบสวนสอบสวนอาชญากรรมทางเทคโนโลยี สำนักงานตำรวจแห่งชาติ (บช.สอท.) ผู้ทำหน้าที่กำกับดูแลภารกิจข้างต้นอย่างใกล้ชิด เพื่อรับทราบความคืบหน้าและแนวทางปฏิบัติในการป้องปรามภัยทางการเงินบนโลกออนไลน์

    

อ่านต่อ

bot magazine 3-66

Inspiration

 

 

BOT Communication Hackathon 2023
สื่อสารอย่างสร้างสรรค์ ให้รู้เท่าทันภัยการเงิน

ภัยการเงิน ภัยใกล้ตัวที่ประชาชนทุกคนมีความเสี่ยงที่จะตกเป็นเหยื่อ โดยไม่จำกัดเพศ วัย ฐานะ หรือระดับการศึกษา แม้ว่าปัจจุบันนี้ทุกภาคส่วนต่างออกมาช่วยกันเตือนภัยจากมิจฉาชีพเหล่านี้ผ่าน หลายช่องทาง แต่ก็ยังมีเหยื่อผู้เสียหายเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องจากกลโกงใหม่ ๆ จึงเป็นที่มาของโจทย์ที่ว่า แล้วจะสื่อสารเพื่อสร้างความตระหนักรู้และรับมือกับภัยการเงินเหล่านี้อย่างไร

 

โครงการแข่งขันออกแบบการสื่อสารอย่างสร้างสรรค์ (BOT Communication Hackathon) เป็นหนึ่งในกิจกรรมสำคัญของ ธปท. ในปี 2566 ซึ่งจัดขึ้นภายใต้หัวข้อ “รู้เท่าทันภัยการเงิน” โดยได้แข่งขันเสร็จสิ้นไปแล้วเมื่อวันที่ 12 กรกฎาคม 2566 ที่ผ่านมา ซึ่งผู้เข้าแข่งขันได้นำเสนอผลงานต่าง ๆ ที่น่าสนใจมากมาย สามารถนำมาปรับใช้ให้เกิดประโยชน์จริงในยุคที่ภัยการเงินเป็นเรื่องใกล้ตัว 

 

title-iconHighlight

จาก “มนต์แคน แก่นคูน” ถึงการหมดยุคของ “เมืองโตเดี่ยว” ทำไมเศรษฐกิจภูมิภาคถึงเป็นอนาคตของประเทศไทย

คงไม่เกินจริงไปนักหากจะบอกว่า ในเชิงวัฒนธรรมแล้ว คนกำหนดรสนิยมกระแสหลักของสังคมไทยไม่ใช่แค่เพียง“กรุงเทพฯ” หรือ “ส่วนกลาง” อีกต่อไป เพราะในโลกใหม่โอกาสและความเป็นไปได้มีได้มากกว่าหนึ่งแบบ
2 executives

manual for financial fraud
The Knowledge
 
คู่มือแก้ปัญหา ถ้าตกเป็นเหยื่อภัยการเงิน
 

 

ด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัย ทำให้มิจฉาชีพหามุขมาหลอกลวงผู้บริโภคได้แยบยลมากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการปลอมตัวเป็นญาติสนิทมิตรสหาย บ้างก็หลอกว่าเป็นพนักงานขององค์กรขนาดใหญ่ ไปจนถึงการสร้างแอปพลิเคชันปลอมที่เนียนสุด ๆ จนเหยื่อหลายคนเผลอกดดาวน์โหลดมาเก็บไว้ในโทรศัพท์ 

manual for financial fraud

bot magazine 3-66

Global Trend

 

 

 

รวมมิจฯ ภัยการเงินออนไลน์รอบโลก

ภัยการเงิน ภัยใกล้ตัวที่ประชาชนทุกคนมีความเสี่ยงที่จะตกเป็นเหยื่อ โดยไม่จำกัดเพศ วัย ฐานะ หรือระดับการศึกษา แม้ว่าปัจจุบันนี้ทุกภาคส่วนต่างออกมาช่วยกันเตือนภัยจากมิจฉาชีพเหล่านี้ผ่าน หลายช่องทาง แต่ก็ยังเห็นข่าวคนไทยถูกหลอกให้โอนเงิน โดนแอปพลิเคชันดูดเงินหรือถูกจับเพราะเปิดบัญชีม้า แล้วนึกสงสัยว่า “ที่ต่างประเทศ เขาจะมีภัยทางการเงินเหมือนบ้านเราไหม” เพื่อหาคำตอบ พวกเราจึงไปรวบรวมข้อมูลจากทั่วโลกมาไว้ในคอลัมน์นี้ค่ะ

title-iconHighlight

จาก “มนต์แคน แก่นคูน” ถึงการหมดยุคของ “เมืองโตเดี่ยว” ทำไมเศรษฐกิจภูมิภาคถึงเป็นอนาคตของประเทศไทย

คงไม่เกินจริงไปนักหากจะบอกว่า ในเชิงวัฒนธรรมแล้ว คนกำหนดรสนิยมกระแสหลักของสังคมไทยไม่ใช่แค่เพียง“กรุงเทพฯ” หรือ “ส่วนกลาง” อีกต่อไป เพราะในโลกใหม่โอกาสและความเป็นไปได้มีได้มากกว่าหนึ่งแบบ
financial fraud literacy

Video ประจำคอลัมน์

ดูทั้งหมด

เปิด "ห้องประชุม กนง." คุยเบื้องลึกการทำนโยบายการเงินกับ ปิติ ดิษยทัต

19 ต.ค. 2566

เบื้องหลังของด่านหน้าแก้ปัญหา “ภัยทางการเงิน” ของสิริธิดา พนมวัน ณ อยุธยา

19 ต.ค. 2566

พล.ต.ต.นิเวศน์ อาภาวศิน กับภารกิจป้องกันและปราบปรามปัญหาภัยการเงินออนไลน์

19 ต.ค. 2566